• Tidak ada hasil yang ditemukan

การลงทะเบียนภาพไม่เป็นเชิงเส้นด้วยการแปลงเวฟเล็ตแบบเต็มหน่วยและทินเพลทสไปลน์

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "การลงทะเบียนภาพไม่เป็นเชิงเส้นด้วยการแปลงเวฟเล็ตแบบเต็มหน่วยและทินเพลทสไปลน์"

Copied!
78
0
0

Teks penuh

The author also wishes to express his deep and sincere thanks to Associate Professor Dr. Manas Sangworasil, Research Advisor, for his valuable guidance and timely suggestions throughout the research process. This research introduces a non-iterative geometric-based method to register an image using a new set of geometric landmarks found on an extracted 2D contour from the image.

Alignment is achieved by establishing correspondences between reference points behind the contour decomposed by the discrete wavelet transform and the transform undo which is a thin plate line. Experiments have shown that the target methods are stable under both linear image registration and nonlinear image registration.

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

วัตถุประสงคของการวิจัย

คําถามการวิจัย

สมมุติฐานการวิจัย

การลงทะเบียนภาพเป็นกระบวนการจัดตำแหน่งภาพตั้งแต่สองภาพขึ้นไป เลื่อนขึ้นลงในระนาบเดียวกันอย่างสม่ำเสมอเพื่อพิจารณารายละเอียดรวมถึงตำแหน่งของวัตถุในภาพทั้งหมดพร้อมกัน ด้วยเหตุนี้การลงทะเบียนภาพจึงถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในการวิเคราะห์ผลลัพธ์ของภาพทางการแพทย์ เช่น การวิเคราะห์การเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อมะเร็ง เป็นต้น 2.1.1 ประเภทของการลงทะเบียนภาพ รูปที่ 2.1 ภาพ MRI รูปที่ 2.2 ภาพ MRI และ SPECT ก) แสดงผลการลงทะเบียนภาพ MRI และ SPECT (ข) แสดงภาพ MRI ของศีรษะผู้ป่วย เราสามารถจำแนกวิธีการลงทะเบียนภาพได้หลายวิธี (Karin et al.

การวัดความเหมือนของภาพจะพิจารณาจากคุณสมบัติของภาพเชน Correlation Coefficient, Correlation function หรือ Sum of absolute differences (Karin and other. ง) ภาพถายเพอรสเปกทีฟทํามุม 15 องศา (จ) ภาพถายเพอรสเปกทีฟทํามุม 30 องศา ภาพประกอบ 4.13 คอนทัวรของขอบภาพที่ใชในการทดสอบ. ก) คอนทัวรของขอบภาพที่จะลงทะเบียน (ข) ผลการลดระดับความละเอียด. ทินเพลทสไปลน. ก) คอนทัวรของขอบภาพที่จะลงทะเบียน (ข) ผลการลดระดับความละเอียด. ทินเพลทสไปลน. ภาพประกอบ 4.15 ผลของการลงทะเบียนภาพจากภาพถายแอฟไฟน. ก) คอนทัวรของขอบภาพที่จะลงทะเบียน (ข) ผลการลดระดับความละเอียด. ทินเพลทสไปลน. ภาพประกอบ 4.16 ผลการลงทะเบียนภาพจากภาพถายเพอรสเปกทีฟที่มุม 15 องศา. ก) คอนทัวรของขอบภาพที่จะลงทะเบียน (ข) ผลการลดระดับความละเอียด. ทินเพลทสไปลน. ภาพประกอบ 4.17 ผลการลงทะเบียนภาพจากภาพถายเพอรสเปกทีฟที่มุม 30 องศา. จากผลการทดสอบดังแสดงในภาพประกอบ 4.14 ถึงภาพประกอบ 4.17 โดยที่เสนทึบแทน คอนทัวรของขอบภาพอางอิง และเสนปะแทนคอนทัวรของขอบภาพที่นํามาลงทะเบียนภาพ จะเห็น วาผลของการลงทะเบียนภาพจากภาพถายวัตถุจริง สามารถนําแลนมารคที่ไดจากการลดระดับความ ละเอียดของคอนทัวรของขอบภาพโดยใชเวฟเล็ตแบบเต็มหนวยมาใชในการลงทะเบียนภาพได. โดยที่วิธีการหาพารามิเตอรของการแปลงแบบนอรมอลอิเควชั่นนั้นมีคาความผิดพลาดสูงกวาการ ใชวิธีทินเพลทสไปลน โดยเฉพาะอยางยิ่งกับภาพที่มีความไมเปนเชิงเสน. 4.4 การทดสอบการลงทะเบียนภาพจากภาพทางการแพทย. การทดสอบนี้ทําการลงทะเบียนภาพจากภาพทางการแพทย โดยเลือกใชเวฟเล็ตแม Haar ทําการลงทะเบียนภาพแบบวัตถุชนิดเดียวกันและถายภาพดวยวิธีเดียวกัน ที่ไดจากเครื่อง MRI ดัง แสดงในภาพประกอบ 4.18 และผลการลงทะเบียนภาพดังแสดงในภาพประกอบ 4.19 และการ ลงทะเบียนภาพแบบวัตถุชนิดเดียวกันและถายภาพตางวิธีกัน ที่ไดจากเครื่อง CT และเครื่อง PET ดังแสดงในภาพประกอบ 4.20 และผลการทดลองดังแสดงนภาพประกอบ 4.21. จากผลการทดสอบดังแสดงในภาพประกอบ 4.19 และภาพประกอบ 4.21 โดยที่เสนทึบ แทนคอนทัวรของขอบภาพอางอิง และเสนปะแทนคอนทัวรของขอบภาพที่นํามาลงทะเบียนภาพ จะเห็นวาผลของการลงทะเบียนภาพจากภาพทางการแพทย สามารถนําแลนมารคที่ไดจากการลด ระดับความละเอียดของคอนทัวรของขอบภาพโดยใชเวฟเล็ตแบบเต็มหนวยมาใชในการลงทะเบียน ภาพได โดยที่วิธีการหาพารามิเตอรของการแปลงแบบนอรมอลอิเควชั่นนั้นมีคาความผิดพลาดสูง กวาการใชวิธีทินเพลทสไปลน เนื่องจากภาพทางการแพทยมีความไมเปนเชิงเสนสูง.

Ibrahim EI Rube, Maher Ahmed, Mohamed Kamel, "Affine Invariant Multiscale Wavelet-based Shape Matching Algorithm" Proceedings of the First Canadian Conference on Computer and Robot Vision (CRV'04). Jean-Michel R., Jean-Jose J., Christian R., “Genetic Algorithms for a Robust 3-D MR-CT Registration” IEEE Transactions on Information Technology in Biomedicine. Shape feature extraction from object corners” Proceedings of the IEEE Southwest Symposium on Image Analysis and Interpretation.

ขอบเขตการวิจัย

นิยามศัพท

ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องที่วิจัย

ประเภทของการลงทะเบียนภาพ

  • วัตถุชนิดเดียวกันและถายภาพดวยวิธีเดียวกัน
  • วัตถุชนิดเดียวกันแตถายภาพตางวิธีกัน
  • วัตถุตางชนิดกัน

การแปลงเชิงเรขาคณิต

  • การเลื่อนพิกัด
  • การสเกล
  • การหมุนวัตถุ
  • การเฉือน
  • การฉายภาพ

ทฤษฏีที่รองรับ หรือกรอบความคิดทางทฤษฏี

ทฤษฎีพื้นฐานของการแปลงเวฟเล็ต

ทินเพลทสไปลน

ผลการวิจัยที่เกี่ยวของ

วิธีลงทะเบียนภาพแบบใชจุดควบคุม

วิธีลงทะเบียนภาพแบบโมเมนต

วิธีลงทะเบียนภาพแบบใชขอบภาพ

วิธีลงทะเบียนภาพแบบพิจารณาความเหมือนกันของภาพ

สรุป

รูปแบบการวิจัย หรือแบบแผนการวิจัย

ประชากรและกลุมตัวอยาง

ขั้นตอนการดําเนินงานวิจัย

เครื่องมือการวิจัย

กระบวนการคํานวณในงานวิจัย

การหาคอนทัวรของภาพดวยวิธีคอนทัวรโฟลโลเวอร

การอินเทอรโพเลทคอนทัวร

การหาแลนมารคดวยการแปลงเวฟเล็ตแบบเต็มหนวย

การหาเมตริกซของการแปลง

การหาคาผิดพลาดของการลงทะเบียนภาพ

การทดสอบการลงทะเบียนภาพจากคอนทัวรของขอบภาพ

การทดสอบการลงทะเบียนภาพจากการแปลงริจิด

การทดสอบการลงทะเบียนภาพจากการแปลงสิมิลาริตี้

การทดสอบการลงทะเบียนภาพจากการแปลงแอฟไฟน

การทดสอบผลของเวฟเล็ตแมตอการลงทะเบียนภาพ

การทดสอบการลงทะเบียนภาพจากภาพถายวัตถุ

จากผลการทดสอบแสดงในรูปที่ 4.14 ถึงรูปที่ 4.17 โดยที่เส้นทึบแสดงถึง Edge Contour ของรูปภาพอ้างอิง และเส้นประแสดงถึงเส้นขอบของภาพที่จะลงทะเบียน จะเห็นได้ว่า ผลลัพธ์ของการลงทะเบียนภาพนั้นมาจากภาพถ่ายจริงสามารถใช้จุดปฐมนิเทศที่ได้จากการลดความสูงได้ ในการลงทะเบียนภาพ สามารถใช้ความละเอียดของเส้นขอบภาพได้โดยใช้เวฟเล็ตแบบเต็มหน่วย

การทดสอบการลงทะเบียนภาพจากภาพทางการแพทย

การทดสอบการประยุกตใชในการจําแนกตัวอักษร

ภาพถาย MRI

ภาพถาย MRI และ SPECT

แสดงภาพผลลัพธของการลงทะเบียนภาพถายทางอากาศและแผนที่

สวนประกอบของระบบพิกัดโฮโมจีเนียส

การเลื่อนจุดกึ่งกลางของปริมาตรตนฉบับมายังจุดกําเนิด

การสเกลวัตถุ

การแปลงแบบหมุนรอบแกนทั้งสาม

การฉายภาพแบบเพอรสเปกทีฟ

แสดงรูปคลื่นซายน และ Daubechies Wavelet

แสดงสเปซยอย ใน ตามนิยามของการวิเคราะหแบบหลายระดับความ

Haar และ Triangle Scaling Function

แสดง Haar และ triangle function

แสดง Two-band Analysis Filter Bank ของการแปลงเวฟเล็ตจากระดับความ

แสดง Two-Band Analysis Filter Bank ของการแปลงเวฟเล็ตจากระดับความ

ชวงความถี่ (Frequency Bands) ของการแปลงเวฟเล็ตจากระดับความละเอียด j

ชวงความถี่ของการแปลงเวฟเล็ตจากระดับความละเอียด j ไปยังระดับความ

ภาพแสดงจุดสอดคลองและผลการวารปดวยกระบวนการทินเพลทสไปลน

โฟลชารจแสดงกระบวนการคํานวณ

ตัวอยางคอนทัวรของภาพถายที่หาไดจากวิธีคอนทัวรโฟลโลเวอร

แสดงการอินเทอรโพเลทดวยคิวบิคสไปลน

แสดงการยายจุกศูนยกลางภาพมายังจุดเซ็นทรอย

ผลการลดระดับความละเอียดของคอนทัวรที่ระดับตางๆ

ผลการลงทะเบียนภาพจากคอนทัวรของขอบภาพที่แปลงริจิด

ผลการลงทะเบียนภาพจากคอนทัวรของขอบภาพที่แปลงสิมิลาริตี้

ผลการลงทะเบียนภาพจากคอนทัวรของขอบภาพแปลงแอฟไฟน

คอนทัวรของขอบภาพที่ใชในการทดสอบ

การลดระดับความละเอียดของคอนทัวรของขอบภาพที่ระดับที่ 6

การลดระดับความละเอียดของคอนทัวรของขอบภาพที่ระดับที่ 5

การลดระดับความละเอียดของคอนทัวรของขอบภาพที่ระดับที่ 4

การลดระดับความละเอียดของคอนทัวรของขอบภาพที่ระดับที่ 3

การลดระดับความละเอียดของคอนทัวรของขอบภาพที่ระดับที่ 2

ผลการลงทะเบียนภาพที่ระดับความละเอียดที่ 2

ผลการลงทะเบียนภาพจากคอนทัวรเริ่มตน

ภาพที่ใชในการทดสอบ

คอนทัวรของขอบภาพที่ใชในการทดสอบ

ผลการลงทะเบียนภาพจากภาพถายสิมิลาริตี้

ผลของการลงทะเบียนภาพจากภาพถายแอฟไฟน

ผลการลงทะเบียนภาพจากภาพถายเพอรสเปกทีฟที่มุม 15 องศา

ผลการลงทะเบียนภาพจากภาพถายเพอรสเปกทีฟที่มุม 30 องศา

ภาพที่นํามาลงทะเบียนภาพแบบวัตถุชนิดเดียวกันและถายภาพดวยวิธีเดียวกัน

ผลการลงทะเบียนภาพแบบวัตถุชนิดเดียวกันและถายภาพดวยวิธีเดียวกัน

ภาพที่นํามาลงทะเบียนภาพแบบวัตถุชนิดเดียวกันและถายภาพตางวิธีกัน

ผลการลงทะเบียนภาพแบบวัตถุชนิดเดียวกันและถายภาพตางวิธีกัน

ภาพตัวอักษรที่ใชในการทดสอบ

ผลการทดสอบการลงทะเบียนภาพ

Referensi

Dokumen terkait

1 ธันวาคม 2564 ลิขสิทธิ=โดย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่ บทนำ การวิจัย Research คือกระบวนการ ในการแสวงหาความรูที่เชื่อถือได Reliable knowledge โดยใช้วิธีการที่เชื่อถือได Reliable