• Tidak ada hasil yang ditemukan

การศึกษาปัจจัยจูงใจและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "การศึกษาปัจจัยจูงใจและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม"

Copied!
9
0
0

Teks penuh

(1)

การศึกษาปจจัยจูงใจและแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ในการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม

A STUDY OF THE MOTIVATOR FACTORS AND THE ACHIEVEMENT OF THE STUDENT IN THE UNIVERSITY IN DECISION MAKING FOR

SMALL AND MEDIUM ENTERPRISES TRANSACTION.

ศรัณยภัทร เรืองประไพ

1

1อาจารยประจําสาขาวิชาการจัดการ และผูประสานงานภาคเสาร-อาทิตย

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน

บทคัดยอ: การศึกษาเรื่องปจจัยจูงใจและแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ในการตัดสินใจ ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม มีวัตถุประสงคเพื่อใหทราบถึงปจจัยจูงใจ และ แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ของนิสิต นักศึกษา ในการ ตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม เพื่อประโยชนในการวางแนวทางพัฒนาหลักสูตร การศึกษา ใหสอดคลองกับมาตรการดานทรัพยากรมนุษย ตามนโยบายของภาครัฐ ซึ่งจะเปน รากฐานสําคัญในการพัฒนา ประเทศตอไป

การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงสํารวจ โดยศึกษาขอมูล ปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ในดานขอมูลปฐมภูมิมุงศึกษาถึง ตัวแปรสวนบุคคล ตัวแปรดานแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ และตัวแปรดานปจจัยจูงใจ สวนขอมูลทุติยภูมิ ศึกษาคนควาและ รวบรวม ขอมูลจากเอกสารตางๆ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ กําหนด ขอบเขตโดยศึกษานิสิตนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ชั้นปสุดทาย จํานวน 394 คน จาก สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 3 แหง และ สถาบันการศึกษาของเอกชน 3 แหง ไดแก จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และมหาวิทยาลัยหอการคา

ABSTRACT: This study of “The motivator factors and the achievement of the student in the university in decision making for small and medium enterprises transaction” was conducted with the objective to gain insights on the decision making for the small and medium enterprises transaction . The purpose is to be a guide line to the study programmed development of the university , which will be related with the government policy in human resource development.

The study is a survey research. The sample consisted of 394 students from 6 universities such as Chulalongorn University, Thammasart University, Kasetsart University, Sripatum University, Bangkok University and The University of The Thai Chamber of Commerce .

KEYWORDS: SMES, Student

(2)

1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

สืบเนื่องจากวิกฤตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ตั้งแตป 2540 เปนตนมา เกิดผลกระทบตอธุรกิจตางๆ ทําใหแตละธุรกิจตองดิ้นรนหาทางรอด บางแหงตองลด จํานวนพนักงานลง เกิดภาวะวางงาน สงผลกระทบตอ การอุปโภคบริโภคลดลง และเกิดผลยอนกลับตอการ ผลิตในภาคธุรกิจ กลไกทางเศรษฐกิจหยุดชะงักจน ภาครัฐตองเขามาชวยกระตุนใหเกิดการผลิตในระดับ รากหญา ดวยโครงการสงเสริมธุรกิจขนาดกลางและ ข น า ด ย อ ม ใ น ห ล า ย ด า น ร ว ม ทั้ ง ส ง เ ส ริ ม ใ ห

สถาบันการศึกษาตางๆ ปรับหลักสูตรเพื่อใหสอดคลอง กับนโยบาย และใหสามารถสนองตอบความตองการ ของภาคธุรกิจ ดวยการเตรียมนักธุรกิจรุนใหม เขาสู

เศรษฐกิจใหม

เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายของ ภาครัฐในการ จัดเตรียมทรัพยากรบุคคลจากสถานศึกษาเขาสูการเปน ผูประกอบการใหม ในการวิจัยครั้งนี้ จึงมีความประสงค

ศึกษาวามีปจจัยจูงใจ หรือแรง จูงใจใฝสัมฤทธิ์ใด ที่มี

อิทธิพลตอการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอมของนิสิตนักศึกษา โดยการศึกษาเปรียบเทียบ ความแตกตางของการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาด กลางและขนาดยอม จากปจจัยสวนบุคคล ปจจัยจูงใจ และแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ และศึกษาถึงความสัมพันธ

ระหวางปจจัยจูงใจ แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ กับการ ตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมของ นิสิตนักศึกษา

ผูวิจัยไดวาง กรอบแนวคิดในการวิจัย โดยศึกษา ขอมูลจากปจจัยสวนบุคคล แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ และ ปจจัยจูงใจ สําหรับปจจัยสวนบุคคล แบงเปน เพศ ผล การเรียนหรือเกรดเฉลี่ย ตั้งแตชั้น ปที่ 1 ถึงปปจจุบัน และภูมิหลังในการประกอบธุรกิจของครอบครัว สวน แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ศึกษาจากลักษณะของผูมีแรงจูงใจ ใฝสัมฤทธิ์จากคําจํากัดความของ แมคเคลแลนด

(McCleland) และ เฮอรแมนส (Hermans) สําหรับ ปจจัยจูงใจ ศึกษาจากทฤษฎีลําดับความตองการของ มาสโลว (Maslow)

กลุมประชากรที่นํามาศึกษา ไดกําหนดขอบเขต การศึกษาเฉพาะนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นป

สุดทายของสถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชน ในการ สุมตัวอยางผูวิจัยไดสืบคนขอมูลจํานวนผูสําเร็จการศึกษา จําแนกตามสถาบันและระดับการศึกษา และนําขอมูล ดังกลาวมาเรียงลําดับ เพื่อหากลุมตัวอยางโดยใชวิธี Two Stage Stratified Random Sampling ในขั้นตอนที่ 1. เปน การคัดเลือกสถาบันการศึกษาที่จะใชเปนกลุมตัวอยาง โดยคัดเลือกจากสถาบันการศึกษาของรัฐที่มีจํานวน ผูสําเร็จการศึกษามาก 3 อันดับแรก กับสถาบันการศึกษา เอกชนที่มีผูสําเร็จการศึกษามาก 3 อันดับแรก จากนั้นนํา จํานวนนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาแตละสถาบันมา คํานวณหาขนาดของกลุมตัวอยาง โดยคํานวณจากสูตร ของ ทาโร ยามาเน (Taro Yamane)โดยกําหนดความ คลาดเคลื่อนเทากับ 0.05 ไดกลุมตัวอยาง นิสิตนักศึกษา จาก สถาบันการศึกษาของรัฐ 3 แหงคือ จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กับสถาบันการศึกษา เอกชน 3 แหง คือ มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และมหาวิทยาลัยหอการคา เนื่องจากจํานวนผูสําเร็จ การศึกษาของแตละสถาบันไมเทากัน ดังนั้นในขั้นตอนที่

2. จึงตองคํานวณหาสัดสวนของประชากร กลุมตัวอยาง ในแตละกลุม ไดขนาดของกลุมตัวอยางในแตละสถาบัน ซึ่งรวมกันแลวเทากับ 394 คน รูปแบบการศึกษาเปนการ วิจัยเชิงสํารวจ โดยใชแบบสอบถามจํานวน 394 ชุด ลักษณะแบบสอบถามแบงเปน 4 สวน คือ สวนที่ 1. เปน แบบสอบถามลักษณะประชากร สวนที่ 2. เปนแบบวัด แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ สวนที่ 3. เปนแบบวัดปจจัยจูงใจ และสวนที่ 4. เปนแบบวัดการตัดสินใจประกอบธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม ลักษณะแบบวัด เปนมาตรา สวนประมาณคา เปน 5 ระดับ ไดแก มากที่สุด มาก ปาน กลาง นอย นอยที่สุด และใหคะแนนตาม ลิเคิรตสเกล (Likert Scale)

2. ผลการวิจัย

พบวา ปจจัยจูงใจที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุดไดแกปจจัย จูงใจ เรื่อง “ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม เปนอาชีพ

(3)

ที่อิสระ สามารถพัฒนา ความรูความสามารถและให

ประสบการณในการประกอบอาชีพของตนเอง” มี

คาเฉลี่ยเทากับ 4.14 อยูในระดับ มาก และปจจัย จูงใจที่

มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุดในกลุม คือ เรื่อง “เปนอาชีพที่ทําให

ไดรับการยกยองจากผูอื่น” มี คาเฉลี่ยเทากับ 3.65 อยู

ใน ระดับมากเชนกัน สวนดานแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ของ นิสิตนักศึกษาในการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาด กลางและขนาดยอม เรื่องที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด ไดแก

เรื่อง “การทํางานที่สําคัญและตองใชความสามารถอยาง มาก เปนสิ่งที่สรางความพึงพอใจใหกับนิสิตนักศึกษา เปนพิเศษ” มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.84 และแรงจูงใจใฝ

สัมฤทธิ์ที่มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุดไดแกเรื่อง “นิสิตนักศึกษาจะ ไมรูสึกเบื่อหนาย ถางานที่ทํามีอุปสรรคมากๆ” มี

คาเฉลี่ย เทากับ 2.76 อยูในระดับปานกลาง ในดานการ ตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม ของ นิสิตนักศึกษา เรื่องที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุดไดแก เรื่อง

“ความตั้งใจจะประกอบธุรกิจสวนตัวหากมีโอกาส” มี

คาเฉลี่ยเทากับ 4.23 อยูในระดับมากที่สุด และเรื่องที่มี

คาเฉลี่ยต่ําที่สุด คือ “ความตั้งใจจะประกอบธุรกิจ สวนตัวเพราะครอบครัวและคนรอบขางสนับสนุน” มี

คาเฉลี่ย เทากับ 3.54 อยูในระดับมาก

ปจจัยจูงใจในการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาด กลางและขนาดยอม ของนิสิตนักศึกษา เพศชาย มี

คาเฉลี่ยเทากับ 3.83 ต่ํากวา เพศหญิงซึ่งมีคาเฉลี่ย เทากับ 3.93 และเมื่อทดสอบความแตกตางระดับปจจัยจูงใจใน การตัดสินใจระหวางเพศ โดยใชสถิติทดสอบที พบวา ระดับปจจัยจูงใจไมแตกตางกันทางสถิติ ดานผลการ เรียนพบวา นักศึกษาที่มีผลการเรียนสูงกวา 3.50 มี

คาเฉลี่ยระดับปจจัยจูงใจ ในการประกอบธุรกิจขนาด กลางและขนาดยอมสูงที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.98 สวนกลุมที่มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุดคือ กลุมที่มีผลการเรียนอยู

ระหวาง 2.51 – 3.00 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.83 เมื่อทดสอบ ความแตกตางระดับปจจัยจูงใจในการตัดสินใจระหวาง ผลการเรียน โดยใชการวิเคราะหความแปรปรวนแบบ ทางเดียว สถิติทดสอบ เอฟ สรุปไดวา ระดับปจจัย จูง ใจในการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาด ยอมของนิสิตนักศึกษาไมแตกตางกันทางสถิติ สวนดาน

ภูมิหลังของครอบครัวพบวา คาเฉลี่ยของระดับปจจัยจูง ใจในการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาด ยอม ของกลุมที่ครอบครัวประกอบธุรกิจและครอบครัว ที่ไมประกอบธุรกิจ มีคาเฉลี่ยใกลเคียงกัน เมื่อทดสอบ ความแตกตางระดับปจจัยจูงใจในการตัดสินใจระหวาง ภูมิหลังของครอบครัวโดยใชสถิติทดสอบที สรุปไดวา ระดับปจจัยจูงใจในการ ตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาด กลางและขนาดยอม ของนิสิตนักศึกษาไมแตกตางกัน ทางสถิติ

แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการตัดสินใจประกอบธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม ของนิสิตนักศึกษาเพศชาย มี

คาเฉลี่ยเทากับ 3.44 ต่ํากวาเพศหญิงที่มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.49 เมื่อทดสอบความแตกตางของระดับแรงจูงใจใฝ

สัมฤทธิ์ในการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอมของนิสิตนักศึกษา ระหวางเพศชายและเพศ หญิงโดยใชสถิติทดสอบที สรุปผลไดวาแรงจูงใจใฝ

สัมฤทธิ์ ในการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม ของนิสิตนักศึกษา ไมแตกตางกันทางสถิติ

ดานผลการเรียนพบวา นิสิตนักศึกษาที่ไดผลการเรียน สูงกวา 3.50 มีคาเฉลี่ยระดับแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการ ตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมสูง ที่สุด คือมีคาเฉลี่ย เทากับ 3.51 สวนกลุมที่มีคาเฉลี่ย ระดับแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ต่ํา ที่สุดคือ กลุมที่มีผลการ เรียนอยูระหวาง 2.51 – 3.00 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.45 เมื่อ ทดสอบความแตกตางของระดับแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ใน การตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม ระหวางผลการเรียนโดยใชการวิเคราะหความ แปรปรวนแบบทางเดียว สถิติทดสอบ เอฟ สรุปไดวา ระดับแรงจูงใจ ใฝสัมฤทธิ์ในการตัดสินใจประกอบ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม ของนิสิตนักศึกษาไม

แตกตางกันทางสถิติ สวนดานภูมิหลังของ ครอบครัว พบวา คาเฉลี่ยระดับแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการ ตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม ของ นิสิตนักศึกษากลุมที่ครอบครัวประกอบธุรกิจ มี

คาเฉลี่ยสูงกวา ครอบครัวที่ไมประกอบธุรกิจ กลาวคือ กลุมที่ครอบครัวประกอบธุรกิจ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.52 และกลุมที่ครอบครัวไมไดประกอบธุรกิจ มีคาเฉลี่ย

(4)

เทากับ 3.40 เมื่อทดสอบความแตกตางระดับ แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการตัดสินใจประกอบธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม ระหวางภูมิหลังของ ครอบครัวที่ประกอบธุรกิจ และไมประกอบธุรกิจ โดย ใชสถิติทดสอบที สรุปผลไดวาระดับแรงจูงใจใฝ

สัมฤทธิ์ ในการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม ของนิสิตนักศึกษา แตกตางกันทางสถิติ

ระหวางภูมิหลังของครอบครัว ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 ระดับการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอมของนิสิตนักศึกษาเพศชาย มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.92 ต่ํากวา เพศหญิงที่มีคาเฉลี่ย เทากับ 4.04 เมื่อ ทดสอบความแตกตางของระดับการตัดสินใจประกอบ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม ของ นิสิตนักศึกษา ระหวางเพศชายและ เพศหญิง โดยใชสถิติทดสอบที

สรุปไดวาการ ตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอมของนิสิตนักศึกษาไมแตกตางกันทางสถิติ

ดานผลการเรียนพบวา นิสิตนักศึกษาที่ไดผลการเรียน ระหวาง 2.00 – 2.50 มีคาเฉลี่ยระดับการตัดสินใจ ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมสูงที่สุด คือมี

คาเฉลี่ย เทากับ 4.06 สวนกลุมที่มีคาเฉลี่ยระดับการ ตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมต่ํา ที่สุดคือ กลุมที่มีผลการเรียนอยูระหวาง 2.51 – 3.00 มี

คาเฉลี่ยเทากับ 3.92 เมื่อทดสอบความแตกตางของ ระดับการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาด ยอมของนิสิตนักศึกษาระหวางผลการเรียนโดยใชการ วิเคราะหความ แปรปรวนแบบทางเดียว สถิติทดสอบ เอฟ สรุปไดวาระดับการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาด กลางและขนาดยอมของนิสิตนักศึกษา ไมแตกตางกัน ทางสถิติ สวนดานภูมิหลังของครอบครัวพบวา คาเฉลี่ย ระดับการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาด ยอมของนิสิตนักศึกษากลุมที่ ครอบครัวประกอบ ธุรกิจ มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.12 สูงกวา ครอบครัวที่ไม

ประกอบธุรกิจ ซึ่งมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.84 เมื่อทดสอบ ความแตกตางระดับการ ตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาด กลางและขนาดยอมของนิสิตนักศึกษาระหวางภูมิหลัง ของครอบครัวโดยใชสถิติทดสอบที สรุปไดวา ระดับ การตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ของนิสิตนักศึกษาแตกตางกันทางสถิติระหวางภูมิหลัง ของครอบครัวที่ระดับ นัยสําคัญ 0.05

จากการศึกษาความสัมพันธระหวาง ปจจัยจูง ใจและแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ กับการตัดสินใจประกอบ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม ของนิสิตนักศึกษา สรุป ผลไดวา ปจจัยจูงใจมีความสัมพันธกับ การตัดสินใจ ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม รอยละ 34.0 ใน ทิศทางเดียวกัน เชนเดียวกับแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ที่มี

ความสัมพันธกับการ ตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลาง และขนาดยอม รอยละ 37.8 ในทิศทางเดียวกัน

3. อภิปรายผล

ผูเขียนไดตั้งสมมุติฐานการวิจัย ขอที่ 1 ไววา นิสิต นักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ที่มีปจจัยสวนบุคคล แตกตางกัน จะมีปจจัยจูงใจ แรง จูงใจใฝสัมฤทธิ์ และ การตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม แตกตางกัน

ผลจากการวิจัยพบวานิสิตนักศึกษาที่มีปจจัยสวน บุคคลในดานเพศและผลการเรียนแตกตางกัน จะมี

ระดับปจจัยจูงใจ แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ และการตัดสินใจ ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมไมแตกตางกัน ซึ่งเปนการปฏิเสธสมมติฐาน ยกเวนปจจัยสวนบุคคลใน ดานภูมิหลังของครอบครัวระหวางครอบครัวที่ประกอบ ธุรกิจ กับครอบครัวที่ไมไดประกอบธุรกิจ จะมีระดับ แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ และการตัดสินใจประกอบธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดยอมแตกตางกันทางสถิติที่ระดับ นัยสําคัญ 0.05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐาน

ปจจัยจูงใจในการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาด กลางและขนาดยอมของนิสิตนักศึกษาเพศชาย มี

คาเฉลี่ยต่ํากวานิสิตนักศึกษาเพศหญิง ปจจัยจูงใจที่มี

คาเฉลี่ยสูงที่สุดไดแก ปจจัย จูงใจเรื่อง “ธุรกิจขนาด กลางและขนาดยอม เปนเปนอาชีพที่อิสระ สามารถ พัฒนา ความรูความสามารถ และให ประสบการณ

ในการประกอบอาชีพของตนเอง” ซึ่งสอดคลองกับ ทฤษฎีความตองการของ แมคเคลแลนด ในเรื่องความ ตองการความสําเร็จ โดยผูที่ตองการความสําเร็จสูง มี

ความปรารถนาอยางแรงกลาที่จะทํางานใหไดผลงานดี

(5)

ขึ้น สนใจที่จะริเริ่มเปาหมายที่แปลกใหม เพื่อ ตอบสนองแรง จูงใจภายในของตนเอง และสอดคลอง กับทฤษฎีความตองการของมาสโลว ในเรื่องของความ ตองการที่ไดทําดังใจปรารถนา (Self- Actualization Needs) ซึ่งเปนความตองการสูงสุดของบุคคลที่ไดทําใน ทุกสิ่งที่ตนใฝฝนและปรารถนา ไดใชความสามารถและ พัฒนาศักยภาพของตนเอง รองลงมาคือ “รายไดที่ ไดรับ มีความเหมาะสมกับปริมาณงาน ลักษณะงาน และความรู

ความสามารถ” และเรื่อง “การเปนอาชีพที่ไมตอง เสี่ยงตอการออกจากงาน และสามารถสรางความ มั่นคงในอนาคตใหกับ ตนเอง” ซึ่งสอดคลองกับ ทฤษฎีความตองการของมาสโลว ในเรื่องการตองการ ความปลอดภัย คือมีความมั่นคงในการทํางาน มีคาจาง ผลตอบแทนที่สูงกวาระดับเพื่อการอยูรอด

ในดานแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ของนิสิตนักศึกษาเพศ ชาย มีคาเฉลี่ยต่ํากวานิสิตนักศึกษาเพศหญิง แรงจูงใจใฝ

สัมฤทธิ์ ของนิสิตนักศึกษา ในการตัดสินใจประกอบ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.46 อยูในระดับมาก โดยเรื่องที่มี คาเฉลี่ยสูงที่สุด ไดแก

เรื่อง “การทํางานที่สําคัญและตองใชความสามารถอยาง มากเปนสิ่งที่สรางความพึงพอใจใหกับนิสิตนักศึกษา เปนพิเศษ” ซึ่งสอดคลองกับลักษณะของผูมีแรงจูงใจ ใฝสัมฤทธิ์ของแมคเคลแลนด ที่วา “ผูมีแรงจูงใจใฝ

สัมฤทธิ์มีความคิดวา งานจะสําเร็จลุลวงอยางเปน ผลดี

นั้นขึ้นอยูกับความมุงมั่นตั้งใจจริง และความขยัน ขันแข็งของตน มิใชเปนเพราะโอกาสอํานวย” รองลงมา เปนเรื่อง “งานที่ใชความ รับผิดชอบเปนงานที่นาสนใจ กวางานที่ไมตองรับผิดชอบ” ซึ่งสอดคลองกับทฤษฎี

ความตองการของมาสโลวในเรื่องของความตองการที่

เกี่ยวกับการนับถือตนเอง และการไดรับการยกยองนับ ถือจาก ผูอื่น เปนความตองการความมีเกียรติศักดิ์ศรี

ในดานการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอมของนิสิตนักศึกษาเพศชาย มี คาเฉลี่ยของ ระดับการตัดสินใจ ต่ํากวานิสิตนักศึกษาเพศหญิง ภาพรวมของการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลาง และขนาดยอมมีคาเฉลี่ย เทากับ 3.98 อยูในระดับมาก โดยเรื่องที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุดไดแกเรื่อง “ความตั้งใจ

ประกอบธุรกิจสวนตัวหากมีโอกาส” มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.23 อยูในระดับมากที่สุด นั่นคือโดยสวนลึกแลวนิสิต นักศึกษามีความสนใจในการประกอบธุรกิจขนาดกลาง และขนาดยอม และเรื่องที่มีระดับคาเฉลี่ยรองลงมาคือ เรื่อง “ความตองการประกอบธุรกิจหากมีความพรอม เรื่อง เงินทุน" มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.22 อยูในระดับมาก ที่สุด ซึ่งเรื่องของเงินทุนคืออุปสรรคที่ทําใหไมสามารถ ประกอบธุรกิจไดดังที่ตองการ ดังนั้นหากจะสนับสนุน ใหนิสิตนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาแลวหันมาประกอบ ธุรกิจสวนตัว ภาครัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของจะตอง ใหความชวยเหลือเรื่องแหลงเงินทุน และ เงื่อนไขใน การกูยืมที่เอื้อตอการเริ่มตนประกอบธุรกิจ

สม มติ ฐ า น ก า ร วิจั ยข อ ที่ 2 ป จจั ยจู งใจ มี

ความสัมพันธกับการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาด ก ล า ง แ ล ะ ข น า ด ย อ ม ข อ ง นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษ า ใ น สถาบันอุดมศึกษา ในทิศทางเดียวกัน

ผลการวิจัยพบวา ปจจัยจูงใจมีความสัมพันธกับ การตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม รอยละ 34.0 ในทิศทางเดียวกัน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิด ของ Greenberg and Baron (1997: 142) ที่วา บุคคล ตองการตอบสนองแรงขับ (Drive) จึงกระตุนพฤติกรรม มุงความสําเร็จขึ้น และในการตอบสนองแรงขับ ดังกลาว บุคคลจะเลือกแนวทางปฏิบัติเพื่อนําไปสู

เปาหมายที่ตองการ นั่นคือ บุคคลที่มีระดับ ปจจัย จูงใจ สูงจะมีแรงขับ ที่กระตุนใหตัดสินใจประกอบธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดยอมสูง

สมมติฐานการวิจัยขอที่ 3 แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์มี

ความสัมพันธกับการตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาด กลางและ ขนาดยอม ของนิสิตนักศึกษา ในทิศทาง เดียวกัน

ผ ล ก า ร วิ จั ย พ บ ว า แรงจู งใจใฝ สั มฤทธิ์ มี

ความสัมพันธกับการตัดสินใจประกอบธุรกิจ ขนาดกลาง และขนาดยอม รอยละ 37.8 ในทิศทางเดียวกัน

ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ แมคเคลแลนด

(McClelland 1969: 104)ที่สรุปลักษณะของผูมีแรงจูงใจ ใฝสัมฤทธิ์วา เลือกทํางานที่เหมาะสมกับความสามารถ ของตนเอง มีความ บากบั่นและ เพียรพยายาม และมี

(6)

ความคิดวางานจะสําเร็จลุลวงเปนผลดี ขึ้นอยูกับความ มุงมั่นตั้งใจจริง และขยัน มิใชโอกาสอํานวย ดังนั้น บุคคลที่มีรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์สูง จะมีการตัดสินใจ ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมสูง

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะเพื่อนําผลวิจัยไปใช

ในปจจุบันสถานศึกษาหลายแหงไดนําโครงการ สหกิจศึกษา เพิ่มในหลักสูตร ทั้งนี้ โครงการสหกิจ ศึกษา เปนการ จัดการศึกษา ที่จัดใหนิสิตนักศึกษาไป ปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง เพื่อเปนการ เสริมสรางประสบการณ และทําใหเกิดการพัฒนาตนเอง ใหมีความพรอมในการปฏิบัติงาน ซึ่งโครงการดังกลาว เปนการเตรียมบัณฑิตใหมีคุณภาพสอดคลองตรงตาม ความตองการของสถานประกอบการ หรือนายจาง นั่น คือเตรียมบัณฑิตใหไปเปนลูกนอง แตไมมีโครงการใด ที่จะเตรียมบัณฑิตใหไปเปนเถาแก ถึงแมในหลักสูตร การเรียนการสอนจะมีรายวิชาที่จะเสริมสราง ผูประกอบการ เชน การจัดการธุรกิจขนาดยอม การ เขียนแผนธุรกิจ เปนตน แตไมไดมีโครงการเถาแก

ฝกหัด ที่จะใหนิสิตนักศึกษาไดทดลองประกอบธุรกิจ อยางจริงจัง จากผลการวิจัย พบวานิสิตนักศึกษาที่ภูมิ

หลังของครอบครัวมีการประกอบธุรกิจมีระดับคาเฉลี่ย ของปจจัยจูงใจ และแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการตัดสินใจ ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมสูงกวานิสิต นักศึกษาที่ครอบครัวไมไดประกอบธุรกิจ แสดงใหเห็น วานิสิตนักศึกษาที่ครอบครัวประกอบธุรกิจ มีพื้นฐาน การทําธุรกิจโดยไดเรียนรูจากครอบครัว ดังนั้นหากมี

การปูพื้นฐานในการทําธุรกิจใหกับนิสิตนักศึกษาโดย ใหทดลองปฏิบัติจริง จะทําใหนิสิตนักศึกษาที่

ครอบครัวไมไดประกอบธุรกิจมีโอกาสไดเรียนรูและ สามารถประกอบธุรกิจได

อนึ่งแมวาภาครัฐจะไดมีการวางแผนใหสํานักงาน สงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) ผลักดันใหมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี่ พระจอมเกลาธนบุรี

(มจธ.) วิทยาเขตบางขุนเทียน เปนมหาวิทยาลัยเอสเอ็ม อี เพื่อเปนสถาบันการศึกษาที่สนับสนุนผลงานวิจัยและ

เทคโนโลยี่มาใชในการพัฒนาผลิตภัณฑ และ กระบวนการผลิตสินคา ของผูประกอบการเอสเอ็มอี

ในสินคา 4 กลุม ในโครงการนํารองคือ 1. กลุมสุราแช, น้ําผลไมและ น้ําสมุนไพร 2. กลุมถนอมรักษาผลไม

3. กลุม ผลไม, เครื่องเทศ, สมุนไพรแปรรูป และ 4.

กลุม ผาทอพื้นเมือง โครงการดังกลาวเริ่มตั้งแตเดือน มกราคม 2546 เปนโครงการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ใหกับคนที่เปน ผูประกอบการแลว มิได จัดทําขึ้น สําหรับคนที่ยังไมไดเปนผูประกอบการ และโครงการ ดังกลาว ไดดําเนินมาเปนระยะเวลาพอสมควรแลว แต

ยังไมแพรหลายไปยังสถาบันการศึกษาอื่นจะมีก็เพียง เฉพาะในรูปแบบของศูนยบมเพาะวิสาหกิจ ซึ่งทําหนาที่

เปนพี่เลี้ยง คอยใหคําปรึกษาและ คําแนะนําแกผูที่

ประกอบธุรกิจแลวมิไดเปนการใหการศึกษาและฝกหัด ประกอบธุรกิจ แกผูที่คิดจะเริ่มตน ในรูปแบบของ มหาวิทยาลัยเฉพาะทางดานเอสเอ็มอี

5. ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยตอไป

5.1 การวิจัยครั้งนี้ ไดทําการศึกษาเฉพาะนิสิต นักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ในเขต กรุงเทพมหานคร เพียง 6 สถาบันเทานั้น ควรมีการศึกษากับกลุมประชากร อื่น เชน สถาบันอุดมศึกษาในสวนภูมิภาค หรือแยก ศึกษาเปนรายภาค เชน ภาคเหนือตอนบน ภาคเหนือ ตอนลาง ภาคกลาง ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต เปนตน

5.2 ควรศึกษาปจจัยที่สัมพันธและสงผลตอการ ตัดสินใจประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมของ นิสิตนักศึกษากับ ตัวแปรดานอื่นๆ เชน คานิยมในอาชีพ การรับรูความสามารถของตนดานอาชีพ เพื่อนําไปสู

การสงเสริมและแนะแนวทางในการเลือกประกอบ ธุรกิจที่เหมาะสมตอไป

6. เอกสารอางอิง

[1] ทิพยวัลย สีจันทร และ คณะ ,2546. การคิดและการ ตัดสินใจ. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.

[2] วุฒิชัย จํานง,2523. พฤติกรรมการตัดสินใจ.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพโอเดียนสโตร .

(7)

[3] วุฒิชัย จํานง, 2525. การจูงใจในองคการธุรกิจ.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพโอเดียนสโตร .

[4] สมชาย หิรัญกิตติ และ ศิริวรรณ เสรีรัตน,2542.

การบริหารธุรกิจขนาดยอม .กรุงเทพฯ : ธีระฟลม และไซเท็กซ จํากัด .

[5] สมยศ นาวีการ,2540. การบริหารและพฤติกรรม องคการ . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพผูจัดการ.

[6] สรอยตระกูล (ติวยานนท) อรรถมานะ, 2541.

พฤติกรรมองคการ : ทฤษฎีและการประยุกต . กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

[7] กวีพนธ ระเบียบนาวีนุรักษ , 2545. ความสัมพันธ

ระหวางความฉลาดทางปญญา และความฉลาดทาง อารมณ ที่มีตอแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ของผู

บริหารงานระดับตนในโรงงานอุตสาหกรรม . วิทยานิพนธ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา บริหารอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีปทุม .

[8] ชนชนก เทียนประภาส , 2543. ปจจัยที่มีผลตอ แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายขาว สถานีโทรทัศนกองทัพบกชอง 7.

วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหาร องคการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม . [9] ณัฐจริยา แสงสวาง , 2533. ปจจัยบางประการที่

เกี่ยวของกับการตัดสินใจเลือกเรียนวิชาชีพ หลักสูตรระยะสั้นของประชาชน ศูนยการศึกษา นอกโรงเรียนในเขตภาคกลาง . วิทยานิพนธ

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

[10] ดํารงศักดิ์ จงวิบูลย , 2543. แรงจูงใจในการ ปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจในสํานักงาน ตํารวจสันติบาล. วิทยานิพนธสังคมศาสตร

มหาบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและงาน ยุติธรรม, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล . [11] นิรามิส อรุโณทอง , 2539. ความสัมพันธระหวาง

ตัวแปรสวนบุคคลกับปจจัยจูงใจในการเลือกงาน ของบัณฑิตใหมหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร . วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ คณะ ศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร . [12] บุญมี บุญมั่น , 2535. ปจจัยบางประการที่มีผลตอ

การตัดสินใจเขาศึกษาตอในระดับมัธยมศึกษาของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ศึกษาเฉพาะกรณี

อําเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร . วิทยานิพนธศิลป ศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตร,

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร .

[13] เพทาย ศิริมุสิกะ , 2547. การตัดสินใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ในเขตพื้นที่การศึกษาสงขลา เขต 2 ตอการศึกษาตอใน

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี.

วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา รัฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร . [14] ภาสกร แชมประเสริฐ, 2545. การเปรียบเทียบภูมิ

หลังและลักษณะความเปนผูประกอบการระหวาง ผูประกอบการที่ประสบความสําเร็จสูงและต่ําใน การดําเนินกิจการอุตสาหกรรมขนาดยอมและ ขนาดกลางในจังหวัดเชียงใหม . การคนควาแบบ อิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยา อุตสาหกรรมและองคการ บัณฑิตวิทยาลัย เชียงใหม .

[15] ยุทธนาวี ดวงสุวรรณ, 2542. ปจจัยที่มีผลตอ ประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานธนาคารกรุง ศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) : สํานักงานใหญ . วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหาร องคการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม . [16] สมชาย สกุลสุรรัตน. ยุทธศาสตรการบูรณาการเพื่อ

พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมของ ภาครัฐและภาคเอกชนในชวงป 2545-2550 . การ คนควาแบบอิสระ หลักสูตรการปองกัน ราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน รุนที่ 14 ป

การศึกษา 2544-2545, วิทยาลัยปองกัน ราชอาณาจักร.

(8)

[17] สมศรี สุขเกษม , 2544. ปจจัยที่ทําใหตัดสินใจ ศึกษาตอในระดับมหาบัณฑิตของขาราชการ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ . วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา รัฐศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร . [18] สุดารา ดิษฐากรณ , 2535. ปจจัยที่มีผลตอการ

ตัดสินใจศึกษาตอของขาราชการตามแผนพัฒนา ทรัพยากรบุคคลของสํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร . [19] อรุณี อารี , 2539. การตัดสินใจของนักศึกษาในการ

เรียนตอระดับมัธยมศึกษาตอนตน การศึกษานอก โรงเรียน จังหวัดนครราชสีมา .

วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา รัฐศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร . [20] อานันท ทาปทา , 2533. ปจจัยบางประการที่มีผล

ตอการตัดสินใจในระดับมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

สาขารัฐศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร . [21] Atkinson, W.J. and D. Birch, 1964. An

Introduction to Motivation . Van Nortrand Reinhold Company .

[22] Beach, D.S., 1980. Personnel : The management of People at Work , New York : Macmillian Company .

[23] Franken, R.E.,1998. Human motivation . (4th ed.) . Pacific Grove, California/Cole Publishing Company.

[24] Frese, M., Brantjes, a., & Hoorn, R. 2002.

Psychological success factors of small scale business in Namibia : The role of strategy Process, entrepreneurial orientation and the environment. Journal of Developmental Entrepreneurship . (Online) Available : http://dbonline.lib.cmu.ac.th/abi/detail.nsp (15 August 2003)

[25] Frunzi, G. L. & Savini, P. L., 1997. Supervision, The art of management. Upper Saddle River, N.J.: Prentice Hall .

[26] Greenberg, J. & Baron, R.A. ,1997. Behavior in organizations . (6thed.). Upper Saddle River, NJ : Prentice Hall .

[27] Hatten, Timotry S.,2003. Small Business : Entrepreneurship and Beyond .New Jersey : Prentice-Hall Inc.

[28] Herman, H.J.M. , 1970. A Question measure of achievement motivation. Journal Applied Psychology.

[29] Maslow,A.H.,1970. Motivation and Personality .(2nd ed.). Newyork : Haper&Row.

[30] Masters,R., & Meier,R. Sex differences and risk taking propensity of entrepreneurs. Periodical , 1988. (Online) Available :

http://dbonline.lib.cmu.ac.th/abi/detail.nsp (15 August 2003)

[31] McClelland, David C., Winter, David G. ,1969.

Motivation Economic Achievement . Newyork : The Free Press .

[32] McClelland, David C. , 1961. The Achieving Society. NewYork : Limiten Montagna, . [33] McClelland, D.C.,1985. Human Motivation.

Oakland, N.J. : Scott. Foresman&company, . [34] Murry, H.A.,1984. Exploration in Personality.

,New York, Oxford University Press.

[35] Schwer, R.K., & Yucelt, U. A study of risk taking propensities among small business, entrepreneurs and managers : An empirical evaluation. American Journal of Small Business , 1984. (Online) Available :

http://dbonline.lib.cmu.ac.th/abi/detail.nsp (15 August 2003)

(9)

[36] Shaver,K.G.,1995. The entrepreneurial

personality myth. Business & Economic Review . (Online) Available :

http://dbonline.lib.cmu.ac.th/abi/detail.nsp (15 August 2003)

[37] Steer, R.M.,1987. Introduction to organizational behavior . (4thed.). Glenview, IL : Foresman . [38] Stewart, W.H., & Roth, P.L. Risk propensity

difference between entrepreneurs and managers : A meta-analytic review , 2001.

Journal of Applied Psychology. (Online) Available :

http://dbonline.lib.cmu.ac.th/abi/detail.nsp (15 August 2003)

http://www.ismed.or.th

http://secondary.kku.ac.th/research/ed-research 2002/p-ponpan.html

http://itzone.northbkk.ac.th/elearning

http://www.businessthai.co.th/content.php?data=40479 2_SMES%20Marketing

Referensi

Dokumen terkait

บทที่ 5 สรุปผลการการศึกษา การอภิปราย และข้อเสนอแนะ เรื่อง ความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อการให้บริการของโรงแรมบูรพาสามยอด มี วัตถุประสงค์คือ