• Tidak ada hasil yang ditemukan

ทฤษฎีแลกเปลี่ยน กับการเจรจาต่อรองทางการเมือง

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "ทฤษฎีแลกเปลี่ยน กับการเจรจาต่อรองทางการเมือง"

Copied!
3
0
0

Teks penuh

(1)

ทฤษฎีแลกเปลี่ยน กับการเจรจาตอรองทางการเมือง ผศ.ชมพู โกติรัมย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

เมื่อหนดวันเลือกตั้งในปลายปนี้ไดสงสัญญาณมาจากฝายรัฐบาล ไดทําใหมีความชัดเจนทางการเมืองในหลาย อยางใหเห็น ทั้งการจับกลุมแบงขั้ว ทั้งการเจรจาตอรองระหวางกลุมตางๆเพื่อปกธงลวงหนาวา จะเปนแกนนําใน การจัดตั้งรัฐบาล เมื่อมีโจทยวาจะเปนฝายจัดตั้งรัฐบาล จึงมีขั้นตอนตางๆเพื่อเดินสูเปาหมายหลายขั้นตอนดวยกัน กลาวคือ 1. การรวมกลุมตางๆมาสังกัดในพรรคตน 2. การเจรจาเปนพันธมิตรกอนและหลังการเลือกตั้ง 3.การ เลือกสรรผูนําพรรคชูภาวะผูนํา ทั้งหมดหากนําหลัการคาระหวางประเทศมาเปนกรอบความคิดจะเห็นวา ประเทศ ตางๆ (พรรค กลุมการเมือง) ตางมีศักยภาพที่ตางกันในปจจัยการผลิตเพื่อความอยูรอดในยุคการไลลาทางการคาที่มี

การแขงขันกันสูงจึงนําไปสูการเจรจาตอรองเพื่อสรางฐานอํานาจ เพื่อถวงดุลกลุมอื่นๆ และเพื่อแลกเปลี่ยน ผลประโยชนระหวางกัน โดยที่ขั้นตอนที่ 1 และ 2 เปนการเลนในบทเดิมซ้ําแนวทางเกาเพื่อเติมเต็มดวยปริมาณสส.

ในระดับที่มีเกรดสุงและคาดวาอยูในความนิยมของประชาชนมาสังกัดพรรค เปนที่นาสังเกตวาการเคลื่อนไหวทางาร เมืองของพรรคและกลุมตางๆตามขั้นตอนที่ 1 และ 2 ตามที่เปนขาวอยูนั้น ยังไมมีกลุมใดพรรคใดเสนอนโยบาย พรรคหรือพูดใหชัดจะหาน้ําไดอยางไรมาดับไฟ อันเปนเนื้อแทของนิยามการทํากิจกรรมทางการเมือง ซึ่งจะตองเปน ทั้งระดับการทําการบานและการเมืองดวย มีการแยกแยะขอดีขอเสียของนโยบายที่เปนรูปธรรมดวยการเสนอมุมมอง ประเด็นใหมๆ ใหสอดคลองกับสภาพสังคมที่มีการพลวัตตามกระแสโลก หรือจะตอยอดนโยบายเดิมที่เห็นวาเปน ประโยชนตอประชาชน เปนการทํากิจกรรมทางการเมืองดวยการตั้งโจทยวาอะไรคือตัวปญหาของประเทศชาติ

(ทุกข) โดยเริ่มตนตั้งโจทยที่ความทุกขยากของประเทศชาติ แทนโจทยการจัดตั้งรัฐบาล เมื่อชูนํานโยบายพรรคที่จะมา แกปญหาของชาติรับใชประชาชน เมื่อประชาชนเลือกยอมเปนตรรกวาเปนฝายจัดตั้งรัฐบาล ประเด็นอยูที่อันไหน ควรมากอน ตัวทุกขของชาติตองมากอน แลวหลังจากนั้นมาวิจัยวิเคราะหปญหาดวยกระบวนการทางปญญาเทาที

พรรคมีอยู เพื่อสืบสาวหาตนเหตุแหงปญหาของบานเมือง (สมุทัย) เมื่อเริ่มตนดวยกระบวนการแหงปญญาที่ถูกตอง รู

แจงเห็นจริง (สัมมาทิฏฐิ) ถึงความทุกขยากของชาวบานและชาวเมืองกลาวคือความทุกขยากของชาวชนบทและ ความลําเค็ญของคนจนเมือง แลวนําไปสูกระบวนการจัดทําเปนนโยบายพรรค หลังจากนั้นก็ใชนโยบายนั้นนําเสนอ เปนทางเลือกใหประชาชนมีทางเลือก เปนการทํากิจกรรมทางการเมืองดวยมรรควิธีที่มีความเปนกลางระหวางความขึง ตึงทางความคิดสุดโตงอันนําไปสูการแบงขั้วสุดขั้ว แลวนํามาสูการเผชิญหนากันทางการเมือง ที่ประเทศไทยเรา ประสบพบมาแลวนานนับแรมป กับความหยอนยานไรจุดยืนที่แนชัดภายใตกรอบความคิด “ การเมืองคือการอาสา อุทิศตนเพื่อประเทศชาติ” เมื่อเริ่มตนลงมือตามกระบวนการดังกลาว การเมืองยอมเปนปจจัยดานหลักในฐานะ แกปญหาของชาติ (นิโรธ) ตามที่กลาวมาแลววาการเคลื่อนไวทางการเมืองที่ผานมายังไมเห็นกลุมพรรคการเมืองใด เริ่มตนที่นโนบายในฐานะเปนทางเลือก เมื่อประชาชนตัดสินใจเลื่อกพรรคนี้ จะไดสิ่งนี้ตามแนวคิดแลกเปลี่ยน (Exchange Theory) อันเปนกระบวนสุดทายของกิจกรรมทางการเมืองที่ยกระดับการมีสวนรวมทางการเมืองของ ประชาชน โดยเบนประเด็นจากการยึดติดที่ตัวบุคคลตามขั้นตอนที่ 3 สูผลประโยชนของประเทศชาติ (สิ่งแลกเปลี่ยน) ในรูปของนโยบายพรรคมิใชใหประชาชนกักขังทางความคิดตัวเองยึดติดในตัวบุคคล ในฐานะมีความสําคัญเสีย

(2)

ทั้งหมดแตเปนบางสวน ความเปนเชนนี้ไดสะทอนถึงอํานาจนิยมเชิงปจเจกสุง แตมีระดับความเคารพในกติกาหรือ ตัวระบบ (ตัวธรรม) ต่ําซึ่งขาดจุดสมดุล ปมประเด็นตรงนี้เมื่อพัฒนามาถึงจุดๆหนึ่งยอมเปราะบาง เพราะธรรมชาติ

ของมนุษยยอมขึ้นลงตามปจจัยแรงหนุนจากภายที่เหนือกวาทั้งอํานาจ เงินตรา แตวา คณะบุคคล(พรรคหรือเรียกอีก อยางวาตัวธรรม)และนโยบายพรรคมีความมั่นคงกวา หากไมนําเสนอกิจกรรมทางการเมืองที่ตรงจุดนี้ จุดที่มีวิธีการ ชัดเจนในรูปนโยบาย (Mean) ที่สัมผัสได เมื่อวิธีการไมชัดเจนเปาหมาย (End) ยอมเบี่ยงเบนตามไปดวย

อนึ่งนั้นหากใชกรอบตามหลักรัฐศาสตรมาประกอบการนําเสนอตามที่กลาวมาขางตนจะพบวา การเมืองเปน การใชอํานานาจหนาที่ในการจัดสรรแจกแจงสิ่งที่มีคุณคาตางๆ ใหกับสังคมอยางชอบธรรม ซึ่งจะนําไปใชไดตอเมื่อ สังคมหรือกลุมบุคคล ไดรับผลกระทบรวมกันทั้งทางตรงทางออม และคนในสังคมมีความเห็นพองตองกันในการ ยอมรับกติกาการใชอํานาจที่ตกลงรวมกัน สวนสังคมที่ยังไมมีความเห็นพองตองกันเกี่ยวกับกติกาการกําหนดสิ่งที่มี

คุณคา การเมืองยังเปนเรื่องของการแขงขันกันเพื่อกําหนดหลักเกณฑในการแบงปนคุณคาที่ใหประโยชนแกฝายตน มากที่สุดเทาที่จะเปนได โดยนัยนี้การเมืองจึงมีสองระดับ ระดับแรก การเมืองอยูภายใตการแขงขัน และระดับที่สอง การเมืองอยูที่ความขัดแยงระหวางฝายตางๆ ดังนั้นเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจทางการเมืองที่ทุกฝายยอมรับไดเปนการ ยอมรับในจุดเนนวา รัฐเปนการรวมของกลุมหลากหลายในสังคม รัฐมิไดเปนผูกระทําทางการเมือง (actors) ที่จะชี้นํา การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจเปนดานหลัก แตรัฐเปนเพียงรัฐบาลที่ทําหนาทีเพียงเอื่ออํานวยความสะดวก ในการแขงขันระหวางพรรคตางๆ (ชัยอนันต สมุทวนิช) ตลอดจนเปนเพียงจุดบรรจบของการเจรจาตอรองเพื่อหวังใน สิ่งแลกเปลี่ยนระหวางกลุมตางๆเปนความไมสัมพันธกันระหวางวิธีการนํานโยบายเสนอใหเปนรูปธรรม(mean) กับ เปาหมายคือความทุกขยากของชาติ (end)

เพื่อยืนยันคํากลาวขางตนจึงขอนําทฤษฎีแลกเปลี่ยนมาประคําอธิบายดังนี้ เนื่องจากมนุษยมีความตองการอยางไร

ขีดจํากัด แตมนุษยไมสามารถแสวงหาเพื่อตอบสนองความตองการไดหมดในเวลาเดียวกัน เพราะมนุษยมีขีด ความสามารถจํากัด Homans เสนอวา ในสถานการณใดที่บุคคลเลือกแสดงพฤติกรรมที่ใหผลตอบแทนมากที่สุดและ ใหผลรายนอยที่สุดบุคคลก็จะเลือกแสดงพฤติกรรมซ้ําในอดีตในสถานการณที่คลายกับอดีต ที่ใหผลตอบแทนงดงาม เพราะสิ่งเราที่ใหผลตอบแทนงดงามในอดีตจะกอใหเกิดพฤติกรรมซ้ําตอไปเรื่อยๆ ถาหากยังไดผลตอบแทนอยู

ในทางกลับกันบุคคลไมพึงพอใจถาหากพฤติกรรมที่ไดรับผลตอบแทนในอดีตตแตกลับไมไดรับผลในปจจุบัน และ บุคคลมีแนวโนมที่จะเลือกแสดงพฤติกรรมอื่นเพื่อแสวงหาสิ่งแลกเปลี่ยนตอไป จากแนวคิดนี้สะทอนถึงฝายเสนอ ความตองการไดเลือกทําประโยชนชวยเหลือเกื้อกูลมากนอยแคไหนหรือแบบผักชีโรยหนา ไดเกิดขึ้นตรงตามความ ตองการหรือตรงสถานการณของผูรับสนอง (ผูบริโภค) หรือไม ถาฝายเสนอกับฝายสนองไดมาพบกันตองตามความ ตองการและความเดือดรอนอยางแทจริงและมีความจําเปนจริงๆ ปฏิสัมสัมพันธระหวางกันยังดําเนินตอไป ในทาง กลับกันถาฝายสนองตอบเห็นวาพฤติกรรมของผูเสนอไมเหมาะสมเพื่อไมใหพฤติกรรมนั้นขยายวงกวางตอไป จึง เลือกปฏิเสธพฤติกรรมนั้นๆเทากับจํากัดพฤติกรรมบางอยาง เพราะฉะนั้นจะเห็นไดวาความตองการ และ ผลประโยชน จึงเปนตัวกําหนดพฤติกรรมของการอยูรวมกันตลอดจนการทํากิจกรรมทางเมืองซึ่งตองรวมกันระหวาง นักการเมือกับประชาชน เมื่อใดก็ตามความตองการอันเปนความจําเปนอยางแทจริง เนนที่ความจําเปนเทานั้นมากอน เปนปจจัยดานหลักไดรับการตอบสนองมากนอยเพียงใด หากไดรับการตอบสนองสูงหรือสิ่งนั้นมีคุณคาจําเปนตอ ชีวิตเขาสูง (Reward) การมีสวนรวม(Cooperation) จะสูงตามไปดวย ในทางกลับกันหากไมไดรับการตอบสนอง

(3)

หรือไมมีความจริงใจระหวางกัน บุคคลก็จะไมใหความรวมมือเปนความสัมพันธเชิงขัดแยง (Conflict) ซึ่งมี

องคประกอบดังนี้

1. Activity มนุษยมีกิจกรรมรวมกันและกําหนดวาจะแสดงพฤติกรรมอยางไรระหวางกัน

2. Interaction การที่คนในสังคมที่รวมชะตากรรมเดียวกันมารวมกําหนดวา จะทําอะไร แลวจะไดอะไรตอบ แทน

3. Sentiment ในสถานการณนั้นผูคนมีทาทีมีความรูสึกอยางไร การกระทํากิจกรรมตางๆถาผุคนไดับความรูสึก ที่ดี บุคคลมักเลือกทําพฤติกรรมนั้นซ้ํา

ดังนั้นเมืออํานาจยังอยูในมือของประชาชน ประชาชนควรเรียนรูที่จะเลือกไมตอบสนองพฤติกรรมบางอยางที่ไม

มุงเนนที่เปาหนักคือความทุกขยากของประเทศชาติ ความอดอยากของประชาชน แตใหสาระสําคัญที่ประโยชน

เฉพาะกลุม เมื่อนั้นเทากับชวยใหนักการเมืองไทยเราเลิกเลือกแสดงพฤติกรรมที่เปนเชิงลบโดยไมคํานึงถึงเนื้อแท

แหงนิยามการทํากิจกรรมทางการเมือง เพื่อใหเกิดการเรียนรูและขัดเกลาทางการเมืองในมิติใหมแมจะยากหากไม

ไมเริมจากปจจุบันแลวเราจะมีผลผลิตทางการเมืองใหคนรุนหลังเรียนรูและเอาเปนตนแบบอยางไร

Referensi

Dokumen terkait

ศึกษาถึงความสัมพันธของพฤติกรรมการรับชมภาพยนตรของผูชมภาพยนตร กับความคิดเห็นเกี่ยวกับ การจัดแบงระดับอายุผูชมภาพยนตร โดยการสํารวจผูชมภาพยนตรในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 400 คน

สุวรรณ วลัยเสถียร ทนายความผูเชี่ยวชาญทางดานกฎหมายและบัญชีภาษีอันดับตนๆของเมืองไทย ภาษาในโลกนี้มีมากกวา 6,000 ภาษา มี 45 ประเทศใชภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการ และ ใชเปนภาษากลาง