• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการใช หนังสือส งเสริมการอ าน ชุดนิทานพื้น - ThaiJo

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "ผลการใช หนังสือส งเสริมการอ าน ชุดนิทานพื้น - ThaiJo"

Copied!
10
0
0

Teks penuh

(1)

เพื่อฝกทักษะการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3

ผูวิจัย สุพัตรา เมืองโคตร1

อาจารยที่ปรึกษา รองศาสตราจารยอนงคศิริ วิชาลัย2 รองศาสตราจารยสนิท สัตโยภาส3

บทคัดยอ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อผลิตและหาประสิทธิภาพของหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ตามเกณฑมาตรฐาน 80/80 เพื่อศึกษา ผลการใชหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน เพื่อฝกทักษะการอาน การคิดวิเคราะห และ การเขียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอ กิจกรรมการเรียนการสอนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนโดยใชหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบานสำหรับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ประชากร ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ในปการศึกษา 2555 โรงเรียนบานทาสองแคว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแมฮองสอน เขต 2 จำนวน 16 คน เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคือ ชุดฝกทักษะการอาน การคิด วิเคราะห และการเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยโดยใชหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทาน พื้นบาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 รวม 6 เรื่อง เพื่อใชเปนสื่อในการเรียนการสอน ดังนี้ เรื่องที่ 1 นิทานเรื่องชางกับคน เรื่องที่ 2 นิทานเรื่องเมตตาของแม เรื่องที่ 3 นิทานเรื่อง ปากวางชางไพร เรื่องที่ 4 นิทานเรื่องนกฮูกเจาปญญา เรื่องที่ 5 นิทานเรื่องชางงาดำตาแดง และ เรื่องที่ 6 นิทานเรื่องเจายางเดื่อผูปราดเปรื่อง พรอมกับทำแผนการจัดการเรียนรูที่เนนการ ฝกทักษะการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน รวม 30 แผน โดยในแตละแผนนั้นก็จะมีกิจกรรม การฝกทักษะการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ทั้งในระหวางเรียนและหลังเรียนเพื่อนำผลของคะแนนที่ไดไปหาคาประสิทธิภาพ E1/E2 ตามเกณฑ

มาตรฐาน 80/80 สำหรับสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลคือ คาความถี่ (Frequency) คาเฉลี่ย

1 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม

2 อาจารยที่ปรึกษาหลัก

3. อาจารยที่ปรึกษารวม

(2)

(Mean) คารอยละ (Percentage) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวิจัย สรุปไดดังนี้

1. ประสิทธิภาพของหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบานเพื่อฝกทักษะ การอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ไดคาเฉลี่ยตามเกณฑ

ประสิทธิภาพโดยรวมเทากับ 82.74/82.81

2. ผลประเมินการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน โดยใชหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน เพื่อฝกทักษะการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ซึ่งมีนักเรียนผานเกณฑการประเมินระดับดีเยี่ยม จำนวน 10 คน คิดเปน รอยละ 62.50 และในระดับดี จำนวน 6 คน คิดเปนรอยละ 37.50

3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชหนังสือสงเสริม การอาน ชุดนิทานพื้นบาน เพื่อฝกทักษะการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 คะแนนเฉลี่ยสูงสุดเทากับ 4.63 และต่ำสุดเทากับ 4.44

คำสำคัญ : นิทาน, ทักษะ, อาน, คิด, วิเคราะห

ABSTRACT

The purposes of this study were to produce and find out the efficiency of the supplementary folk tale books encouraged reading, analytical thinking, and writing skill of Prathomsuksa 3 by using standard scale 80/80, and study effects of using supplementary folk tale books. The Population was 16 Prathomsuksa 3 students in the academic year of 2012 of Bantasongkeaw School under Mae Hong Son Primary Educational Service Area Office 2. All data was collected through 6 Thai supplementary folk tale books 30 learning plans focused on reading, analytical thinking, and writing skill, and activities developed reading, analytical thinking, and writing skill of Prathomsuksa 3 which were consisted of mid-learning activity, and post-learning activities. All data was found out efficiency scale E1/E2 using standard scale 80/80. The statistical analysis was frequency, percentage, mean, and standard deviation. The findings of the study were as follows :

1. Regarding to the efficiency of the supplementary folk tale books encouraged Reading, Students thinking, and writing skill of Prathomsuksa 3, average of the efficiency was totally equal 82.74/82.81.

2. Regarding to the effects of evaluating skill of reading, students thinking, and writing by using the supplementary folk tale book of Prathomsuksa 3, 10 students could pass evaluating scale in the highest level. Percentage of students was 62.50. 6 students could pass evaluating scale in high level. Percentage of students was 37.50.

(3)

3. Regarding to the students’ satisfaction towards learning activities using the supplementary folk tale books encouraged reading, students thinking, and writing skill of Prathomsuksa 3, the highest satisfaction was mean 4.63 and high satisfaction was mean 4.44.

Keywords : Folk, Skill, Reading, Students, Thinking

บทนำ

ภาษาไทย เปนทักษะพื้นฐานที่สำคัญ ในการเรียนรูของคนไทย มีความสำคัญตอการ ดำเนินชีวิตประจำวันทั้งดานการติดตอสื่อสาร และในดานอื่นๆ การจัดการศึกษาจึงตองให

สอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรา 23 ขอ 4) ที่มุงใหผูเรียน มีความรู มีทักษะทางดานภาษาไทยและ มาตรา 24 ที่มุงเนนการฝกทักษะดานการคิดเปน ทำเปน สามารถนำความรูมาประยุกตใชในชีวิต ประจำวันได ดังนั้นกระทรวงศึกษาธิการจึงได

มีการประกาศใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดจุดหมาย ไวเพื่อใหเกิดกับผูเรียนเมื่อเรียนจบการศึกษา ขั้นพื้นฐานแลวจะตองมีทักษะการอาน การคิด วิเคราะห และการเขียนมีทักษะการแกปญหา จึงมีความจำเปนอยางยิ่งที่ครูผูสอนจะตอง ฝกทักษะการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน ใหเกิดขึ้นกับผูเรียน เปนสื่อประกอบการเรียน การสอนอีกประเภทหนึ่งที่สามารถชวยพัฒนา ใหผูเรียนมีทักษะดานการอานการคิดวิเคราะห

และการเขียนได ซึ่งถวัลย มาศจรัส (2542 : 2-3) ที่ไดกลาวถึงความสำคัญของหนังสือ สงเสริมการอานไววา เปนหนังสือที่จัดทำขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเนนในดานการสงเสริม ใหผูอานหนังสือเกิดทักษะในดานการอาน

การคิดวิเคราะห และการเขียนนอกจากนี้แลว สนิท สัตโยภาส (2550 : 19-20) ไดกลาวถึงความ สำคัญของหนังสือประเภทเสริมประสบการณ

ไววา เปนหนังสือชวยพัฒนาความรู ความคิด และประสบการณของเด็กใหกวางขวาง อาจสรุป ไดวา ถาหากครูผูสอนไดใชหนังสือสงเสริม การอาน ชุดนิทานพื้นบาน เพื่อฝกทักษะการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 แลวก็จะสามารถแกปญหา ในดานทักษะดานการอาน การคิดวิเคราะห

และการเขียนของนักเรียนได

ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาวาหนังสือ สงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 สามารถแกปญหา การอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน ไดอยางไร ซึ่งผลการวิจัยจะใชเปนขอมูลประกอบ เพื่อเปนแนวทางในการแกปญหาเกี่ยวกับการ ฝกทักษะดานการอาน การคิดวิเคราะห และ การเขียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และครูผูสอนสามารถนำไปใชเปนสื่อการเรียนได

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อสรางและหาประสิทธิภาพของ หนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบานสำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ตามเกณฑ

มาตรฐาน 80/80

(4)

2. เพื่อศึกษาผลการใชหนังสือสงเสริม การอาน ชุดนิทานพื้นบาน

3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีตอกิจกรรมการเรียนการสอน การอาน การคิดวิเคราะหและการเขียนโดยใชหนังสือ สงเสริมการอานชุดนิทานพื้นบาน สำหรับ นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3

วิธีดำเนินการวิจัย

ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานทา- สองแคว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาแมฮองสอน เขต 2 ในปการศึกษา 2555 จำนวน 16 คน

รูปแบบการวิจัย

ผูวิจัยเลือกรูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง ใหสอดคลองกับนวัตกรรมที่ใชทดลองโดยเลือก การวิจัยทดลองแบบหนึ่งกลุม ทำการทดสอบ กอนเรียน ปฏิบัติกิจกรรมระหวางเรียนโดยใช

หนังสือสงเสริมการอานชุดนิทานพื้นบานสำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 แลวทำการ ทดสอบหลังเรียนอีกครั้งหนึ่ง

เครื่องมือที่ใชในการรวบรวม ขอมูล

1. หนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทาน พื้นบาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 จำนวน 6 เรื่อง เพื่อประเมินการอาน การคิด วิเคราะห และการเขียน ประกอบดวย

เรื่องที่ 1 นิทานเรื่องชางกับคน เรื่องที่ 2 นิทานเรื่องเมตตาของแม

เรื่องที่ 3 นิทานเรื่องปากวางชางไพร เรื่องที่ 4 นิทานเรื่องนกฮูกเจาปญญา เรื่องที่ 5 นิทานเรื่องชางงาดำตาแดง เรื่องที่ 6 นิทานเรื่องเจายางเดื่อ ผูปราดเปรื่อง 2. แผนการจัดการเรียนรู

3. ชุดฝกทักษะการอาน การคิดวิเคราะห

และการเขียน

4. แบบสอบถามความพึงพอของ นักเรียนตอหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทาน พื้นบาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3

วิธีสรางเครื่องมือ

1. การสรางหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 จำนวน 6 เรื่อง ดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้

1.1 ศึกษาวิเคราะหหลักสูตรกลุม สาระการเรียนรูภาษาไทยระดับชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

1.2 ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับ หนังสือสงเสริมการอาน แนวคิดทฤษฎีการสราง หนังสือสงเสริมการอาน จิตวิทยาการศึกษา และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

1.3 รวบรวมนิทานพื้นบานที่ได

มาจากทองถิ่นตางๆ คัดเลือก จำนวน 6 เรื่อง แลวนำมาปรับปรุงเนื้อหาพรอมทั้งวาดภาพ ประกอบใหมีความสวยงาม

1.4 วิเคราะหระดับของความยาก งายของเรื่อง โดยเรียงลำดับจากเรื่องที่มี

กิจกรรมการฝกทักษะการอาน การคิดวิเคราะห

และการเขียนจากงายไปหายาก

(5)

1.5 นำหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบานไปใหผูเชี่ยวชาญทั้ง 3 ทาน เพื่อประเมินหาความตรงเชิงเนื้อหาและหาคา ความสอดคลอง (IOC : Index of Item Objective Congruence) ไดคาความเชื่อมั่น เทากับ .90

1.6 นำหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 ไปทดลองใช (Try out) กับกลุมทดลอง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โดยมีขั้นตอน ในการทดลองดังนี้

1.6.1 นำหนังสือที่ไดจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม เพื่อขอความ อนุเคราะหในการทดลองกับผูอำนวยการ โรงเรียนทั้ง 3 โรงเรียน คือโรงเรียนบานแมเตี๋ย โรงเรียนบานทาผาปุม และโรงเรียนอนุบาล แมลานอย

1.6.2 นัดหมายโรงเรียนที่เปน กลุมทดลอง

1.6.3 นำหนังสือสงเสริม การอาน ชุดนิทานพื้นบาน สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู

ชุดฝกทักษะการอาน การคิดวิเคราะหและ การเขียน พรอมแบบสอบถามไปทดลองใชกับ นักเรียน

1.6.4 การเก็บรวบรวมขอมูล ผลจากการทดลองทั้ง 3 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 โรงเรียนบานแมเตี๋ย สำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาแมฮองสอน เขต 2 ซึ่งเปน โรงเรียนที่มีบริบทไมแตกตางกัน แบบ 1 : 1 จำนวน 3 คน มีคาประสิทธิภาพ E1/E2 เทากับ 81.56/81.67 ครั้งที่ 2 โรงเรียนบานทาผาปุม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา แมฮองสอน เขต 2 จำนวน 9 คน กลุมยอยแบบ 3 : 3 มีประสิทธิภาพ E1/E2 เทากับ 81.10/82.22 และครั้งที่ 3 การทดลองภาคสนามใชกับนักเรียน

ระดับประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนอนุบาล แมลานอย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาแมฮองสอน เขต 2 จำนวน 18 คน มีคา ประสิทธิภาพ E1/E2 เทากับ 81.55/82.87

1.7 นำนวัตกรรมที่ทดลองใชแลว มาปรับปรุงแกไขแลวนำไปใชเก็บรวบรวมขอมูล กับนักเรียนกลุมประชากรในภาคเรียนที่ 1 และ ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 จำนวน 16 คน พรอมกับนำคะแนนที่ไดระหวางเรียนกับคะแนน หลังเรียนมาหาคาประสิทธิภาพ E1/E2 เทากับ 82.74/82.81

2. การสรางแผนการจัดการเรียนรู

การอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ดำเนินการตาม ขั้นตอนดังนี้

2.1 วิเคราะหหลักสูตรกลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทยระดับชั้นประถมศึกษาปที่

3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

2.2 วิเคราะหผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนปที่ผานมา พบวา กลุมสาระการเรียนรู

ภาษาไทยมีปญหาการเรียนการสอนดานการ อาน การคิดวิเคราะห และการเขียน

2.3 หนังสือสงเสริมการอาน ชุด นิทานพื้นบาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 จำนวน 6 เรื่อง มาสรางแผนการจัดการ เรียนรูเรื่องละ 5 แผน รวมทั้งสิ้น 30 แผน

2.4 กำหนดกิจกรรมการเรียน การสอน สื่อการสอน การวัดผลประเมินผล ของการสอนแตละครั้งโดยพิจารณาใหสอดคลอง กับเนื้อหาและวัตถุประสงค

2.5 กิจกรรมการเรียนรูในแตละ แผน จะจัดกิจกรรมใหสอดคลองกับขั้นตอน ของการใชหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทาน พื้นบาน

(6)

2.6 นำแผนการจัดการเรียนรู

ที่สรางขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญ จำนวน 3 ทาน มาตรวจสอบเพื่อหาคาดรรชนีความสอดคลอง (IOC: Index of item objective congruence) ปรากฏวาไดคา IOC เทากับ .90

2.7 นำแผนการจัดการเรียนรู

การอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ไปทดลองใช

(Try out) กับกลุมทดลอง

2.8 นำแผนการจัดการเรียนรู

การอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนที่ทดลอง ใชแลว มาปรับปรุงแกไขแลวนำไปใชเก็บรวบรวม ขอมูลกับนักเรียนกลุมประชากร

3. การสรางชุดฝกทักษะการอาน การ คิดวิเคราะห และการเขียน สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้

3.1 ศึกษาเอกสาร ทฤษฎี หลักการ ที่เกี่ยวของกับการสรางชุดฝกทักษะ

3.2 วิเคราะหเนื้อหาที่เกี่ยวกับการ อาน การคิดวิเคราะห และการเขียน

3.3 นำชุดฝกทักษะการอาน การ คิดวิเคราะห และการเขียนไปใหผูเชี่ยวชาญ ทั้ง 3 ทานเพื่อประเมินหาความตรงเชิงเนื้อหา และหาคาความสอดคลอง (IOC : Index of Item Objective Congruence) ไดคาความเชื่อมั่นเทากับ .90 พรอมทั้งนำขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ นำมาปรับปรุงแกไขแบบฝกใหสมบูรณยิ่งขึ้น

3.4 นำชุดฝกทักษะการอาน การ คิดวิเคราะห และการเขียนไปทดลองใช (Try out)

3.5 นำชุดฝกทักษะการอาน การ คิดวิเคราะห และการเขียนที่ทดลองใชแลว มาปรับปรุงแกไขแลวนำไปใชเก็บรวบรวมขอมูล กับนักเรียนกลุมประชากร

4. การสรางแบบสอบถามความพึง- พอใจของนักเรียนตอหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน สำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 3 ดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้

4.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวของเกี่ยวกับการประเมินความพึงพอใจ การอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน โดยใช

หนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3

4.2 นำความรูที่ไดรับมาสรางเปน ขอคำถาม

4.3 นำแบบสอบถามที่สรางเปน ขอคำถามแลว เสนออาจารยที่ปรึกษา

4.4 นำแบบสอบถามที่ปรับปรุง แกไขแลวเสนอผูเชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบคา ความสอดคลอง (IOC: Index of Item Objective Congruence) เทากับ .90

4.5 นำแบบสอบถาม มาปรับปรุง แกไข แลวนำไปทดลองใชกับกลุมทดลองที่มี

ลักษณะใกลเคียงกับกลุมประชากร ดังนี้ การ ทดลองครั้งที่ 1 โรงเรียนบานแมเตี๋ย สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา แมฮองสอน เขต 2 ซึ่งเปนโรงเรียนที่มีบริบทไมแตกตางกัน แบบ 1 : 1 จำนวน 3 คน คาเฉลี่ยระดับมาก เทากับ 4.47 ครั้งที่ 2 โรงเรียนบานทาผาปุม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา แมฮองสอน เขต 2 จำนวน 9 คน กลุมยอยแบบ 3 : 3 คาเฉลี่ยระดับมาก เทากับ 4.50 และครั้ง ที่ 3 การทดลองภาคสนามใชกับนักเรียนระดับ ประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนอนุบาลแมลานอย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา แมฮองสอน เขต 2 จำนวน 18 คน คาเฉลี่ยระดับ มากที่สุด เทากับ 4.51 นำแบบสอบถามที่ทดลอง ใชแลวมาปรับปรุงแกไขแลวนำไปใชเก็บรวบรวม ขอมูลกับนักเรียนกลุมประชากรในภาคเรียน

(7)

ที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 จำนวน 16 คาเฉลี่ยระดับมากที่สุด เทากับ 4.52

การเก็บรวบรวมขอมูล

ผูวิจัยไดดำเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนี้

1. ทดสอบกอนเรียน โดยใชหนังสือ สงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 รวมทั้ง 6 เรื่อง 2. ดำเนินการสอนอานนักเรียนกลุม ประชากร โดยใชหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน พรอมกับเก็บคะแนนการทำ แบบฝกหัดระหวางเรียนไว

3. ทดสอบหลังเรียน โดยใชหนังสือ สงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 รวมทั้ง 6 เรื่อง 4. สอบถามความพึงพอใจเพื่อนำผล มาวิเคราะห

การวิเคราะหขอมูล

1. การวิเคราะหขอมูลเพื่อหาความ ตรงเชิงเนื้อหาของหนังสือสงเสริมการอาน ชุด นิทานพื้นบาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 โดยผูเชี่ยวชาญทั้ง 3 ทาน เพื่อหาคา (IOC: Index of Item Objective Congruence)

2. ขอมูลเกี่ยวกับการวิเคราะหหา ประสิทธิภาพ E1/E2 ของหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน ใชการหาคาเฉลี่ย (Mean) และคารอยละ (Percentage)

3. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทาง การอานคิดวิเคราะห และเขียนกอนเรียน กับหลังเรียนใชการหาคาเฉลี่ย (Mean) คารอยละ

(Percentage) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

4. ในการวิเคราะหหาระดับความ พึงพอใจเกี่ยวกับหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน สำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 3 ใชการหาคาเฉลี่ย (Mean) คารอยละ (Percentage) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

สรุปผลการวิจัย

1. หนังสือสงเสริมการอานชุดนิทาน พื้นบาน เพื่อฝกทักษะ การอาน การคิดวิเคราะห

และการเขียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 ที่จัดทำขึ้น 7 เรื่อง มีประสิทธิภาพตาม เกณฑมาตรฐาน 80/80 ปรากฏวาไดคาเฉลี่ย ของเกณฑมาตรฐาน มีคาประสิทธิภาพ E1/E2 เทากับ 82.74/82.81 สูงกวาเกณฑมาตรฐาน ที่กำหนดไว

2. นักเรียนมีผลการประเมินการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน ระดับดีเยี่ยม จำนวน 10 คน คิดเปนรอยละ 62.50 และ ผลการประเมินระดับดี จำนวน 6 คน คิดเปน รอยละ 37.50 ตามลำดับ

3. นักเรียนที่เรียนโดยใชหนังสือสงเสริม การอาน ชุดนิทานพื้นบานเพื่อฝกทักษะการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 มีระดับการประเมินผล ทักษะการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน หลังการเรียนดวยหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน สูงกวากอนการเรียน เทากับ 9.00 คิดเปนรอยละ 30.17 ซึ่งแสดงใหเห็นวา นักเรียนไดพัฒนาทักษะการอาน การคิดวิเคราะห

และการเขียนเพิ่มขึ้น

(8)

4. จากการศึกษาความพึงพอใจของ นักเรียนที่มีตอกิจกรรมการเรียนการสอนโดย ใชหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน สำหรับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 หลังจากที่ใช

ครบทั้ง 7 เรื่อง แลวพบวา ในภาพรวมนักเรียน มีความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุด คือ ภาพมีความชัดเจน สวยงาม เราความสนใจ

ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงใหเห็นวา หนังสือ สงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน เพื่อฝกทักษะ การอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 เปนสื่อการเรียน การสอนที่มีประสิทธิภาพ ชวยใหนักเรียนมีผล การประเมินการอาน การคิดวิเคราะห และ การเขียนสูงขึ้น จากการเปรียบเทียบผลการเรียน ระหวางหลังเรียนกับกอนเรียน และสงเสริม ใหนักเรียนเปนคนที่มีความรู มีความสามารถ เหมาะสมกับชั้นเรียน

ขอเสนอแนะ

จากการวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยไดคนพบ ปญหาหรือขอจำกัดและมีขอเสนอแนะ ซึ่งอาจ จะเปนประโยชนตอการวิจัยครั้งตอไป หรือ ประโยชนตอการใชหนังสือสงเสริมการอาน ชุด นิทานพื้นบาน เพื่อฝกทักษะการอาน การคิด วิเคราะห และการเขียนดังนี้

1. ขอเสนอแนะในการนำไปใช

1.1 ชวงเวลาที่ใชหนังสือสงเสริม การอาน ชุดนิทานพื้นบาน เพื่อฝกทักษะ การอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน ควร หลีกเลี่ยงเวลาที่ใกลประเมินผลปลายภาคเรียน การประเมินผลระดับชาติ หรือระยะเวลาที่

ผูประเมินภายนอกของสำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) เพราะครูผูสอนมีความวิตกกังวลสูง

1.2 ค รู ผู  ส อ น ค ว ร น ำ ห นั ง ส ื อ สงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน เพื่อฝกทักษะ การอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน สาระ การเรียนรูภาษาไทย สำหรับชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 ไปใชในการสอนเสริมทักษะในชวงเวลาวาง หลังเลิกเรียนหรือในเวลาเรียนในกิจกรรมพัฒนา ผูเรียน

1.3 กอนการใชหนังสือสงเสริม การอาน ชุดนิทานพื้นบาน เพื่อฝกทักษะ การอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน สาระ การเรียนรูภาษาไทย สำหรับชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 ครูควรสรางบรรยากาศการเรียนรู

ใหนาสนใจ กระตุนใหผูเรียนเกิดความอยากรู

อยากเรียนและควรเปดโอกาสใหผูเรียนอิสระ ในการคิดจะชวยใหเกิดการเรียนรูไดเต็มศักยภาพ ของผูเรียนแตละคน

2. ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรนำหนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน มาฝกทักษะการอาน การคิด วิเคราะห และการเขียนในชั้นเรียน

2.2 ควรมีการศึกษาทดลองนำ หนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน เพื่อ ฝกทักษะการอาน การคิดวิเคราะห และการ เขียนไปใชในการฝกทักษะการจับใจความ การฟง การพูด หรือในสาระการเรียนรูตางๆ 8 สาระ การเรียนรู

2.3 ค ว ร ม ี ก า ร ศ ึ ก ษ า ท ด ล อ ง หนังสือสงเสริมการอาน ชุดนิทานพื้นบาน เพื่อ ฝกทักษะการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียน กับระดับชั้นอื่นๆ

(9)

บรรณานุกรม

กำชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาสน, 2552.

กุศยา แสงเดช. หนังสือสงเสริมการอาน. กรุงเทพฯ : แม็ค, 2545.

จินตนา ใบกาซูยี. การเขียนสื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน, ม.ป.ป.

ถวัลย มาศจรัส. การอาน เขียน คิดวิเคราะห คิดสังเคราะห. กรุงเทพฯ : ธารอักษร จำกัด, 2548.

ทิศนา แขมมณี. ศาสตรการสอน : องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ.

(พิมพครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551.

ธวัช ปุณโณทก. นิทานพื้นบาน. (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน, 2549.

บรรจง พรมฐาน. การพัฒนาแบบฝกทักษะการอานชุดนิทานและตำนานพื้นบาน ชั้นประถม ศึกษาปที่ 5. พะเยา : โรงเรียนบานปางมดแดง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพะเยา เขต 2, 2551.

บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยสำหรับครู. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน, 2546.

ปานรวี ยงยุทธวิชัย. การอาน คิดวิเคราะหและเขียน. กรุงเทพฯ : ธารอักษร, 2548.

รวิวรรณ หมื่นสิทธิโรจน. แบบฝกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห กลุมสาระการเรียนรู

ภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3. ลำพูน : โรงเรียนชุมชนบานวังดิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลำพูนเขต 2., 2551.

เรนุกานต พงศพิสุทธิกุล. การสรางหนังสือนิทานพื้นบานเพื่อสงเสริมทักษะการอานสำหรับ นักเรียนชวงชั้นที่ 2. แมฮองสอน : โรงเรียนบานปางตอง อำเภอขุนยวม สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาแมฮองสอน เขต 1. แมฮองสอน, 2552.

ลักขณา สริวัฒน. การคิด. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส, 2549.

ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. หลักการวิจัยทางการศึกษา. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ศึกษาพร จำกัด, 2531.

วาโร เพ็งสวัสดิ์. การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน, 2546.

ศิริชัย กาญจนวาสี. สถิติประยุกตสำหรับการวิจัย. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2545.

ศึกษาธิการ, กระทรวง. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ การเกษตรแหงประเทศไทย, 2551.

สนิท สัตโยภาส. การอานการเขียนที่มีประสิทธิภาพ. เชียงใหม : คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม, 2547.

สุพน ทิมอ่ำ. วิธีการและแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห.

กรุงเทพฯ : พี.เอ.ลีฟวิ่ง, 2549.

สุวิทย มูลคำ. กลยุทธการสอนคิดวิเคราะห. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ, 2550.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแมฮองสอน เขต 2. รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3. แมฮองสอน : ม.ป.พ., 2553.

(10)

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทยตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.

กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551.

หทัย ตันหยง. การสรางสรรควรรณกรรมและหนังสือสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน, 2529.

อนงคศิริ วิชาลัย. รายงานการวิจัยการสรางแบบฝกเสริมทักษะการอานคิดวิเคราะหและ เขียนแบบมีสวนรวม สาระการเรียนรูภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียน ในเครือขายวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม. เชียงใหม : มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม, 2550.

อรนุช เศวตรัตนเสถียร. ตำนานประจำถิ่นริมแมน้ำและชายฝงทะเลภาคกลาง. กรุงเทพฯ : คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2552.

อัมพร อังศรีพวง. คูมือเตรียมสอบภาษาไทย ป.4. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง, ม.ป.ป.

อารีย พันธมณี. จิตวิทยาสรางสรรคการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : ใยไหม เอดดูเคท, 2546.

เอกรินทร สี่มหาศาล รุจีร ภูสาระ และสุรดิษฐ ทองเปรม. แมบทมาตรฐานภาษาไทย ป.3.

พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน, ม.ป.ป.

Referensi

Dokumen terkait

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการหมูบานตามขอบังคับ กระทรวงมหาดไทยวาดวยการปฏิบัติงานประนีประนอม ขอพิพาทของคณะกรรมการหมูบาน