• Tidak ada hasil yang ditemukan

[ระบบออนไลน์] แหล่งที(มา : http://www.lopburi.go.th/governor/book_january_51/leader.doc (10 มิถุนายน 2551)

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "[ระบบออนไลน์] แหล่งที(มา : http://www.lopburi.go.th/governor/book_january_51/leader.doc (10 มิถุนายน 2551)"

Copied!
13
0
0

Teks penuh

(1)

บรรณานุกรม

กวี วงษ์พุฒ.(2535). ภาวะผู้นํา: ศิลปะแห่งการจูงใจ. กรุงเทพฯ : วันทิพย์, 2535.

จตุรงค์ โสมนัส.(2547). 21 คุณสมบัติหลักแห่งการเป็นผู้นํา. กรุงเทพฯ:โนยิลิส พับลิชชิ(ง,

จารุพงศ์ พลเดช.(2551).ภาวะผู้นําและการเปลี&ยนแปลง. [ระบบออนไลน์] แหล่งที(มา : http://www.lopburi.go.th/governor/book_january_51/leader.doc (10 มิถุนายน 2551).

จําเนียร ชูวงโชติ และคณะ.(2529). จิตวิทยาการรับรู้และการเรียนรู้. กรุงเทพฯ:โรงพิมพการศาสนา.

ณัฐธิดา บุญเลิศ.(2550).ความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน.ศึกษากรณี พนักงานวิทยาลัย นานาชาติมหาวิทยาลัยมหิดล:วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะ รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,

ทิพทินนา สมุทรานนท์ และคณะ. 2547. ค่านิยมในการทํางาน ความผูกพันต่อองค์การ ความพึง พอใจในการทํางาน แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ[ และพฤติกรรมการทํางาน ของหัวหน้างานธุรกิจ อุตสาหกรรมสิ(งทอ โครงการพัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม. วารสาร

สังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์. 30 (มกราคม - เมษายน 2547): 46-62.

ทวีศักดิ[ สูทกวาทิน.(2548). การเปลี&ยนแปลงและพัฒนาองค์การเพื&อเพิ&มขีดความสามารถในการ แข่งขัน.กรุงเทพฯ: ทีพีเอ็น เพรส.

นุตชา ภิญโญภาพ.(2547). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทํางานกับความผูกพันต่อ องค์การ กรณีศึกษาบริษัทขายส่งข้ามชาติแห่งหนึ&ง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ปัจเจก ทัพพรหม. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ วัฒนธรรมองค์การ ความผูกพันต่อ องค์การ และพฤติกรรมการทํางานพนักงานบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ผู้นําเชิงสร้างสรรค์ พ.ศ.2507, ชุบ กาญจนประกร, [เรียบเรียง] (พระนคร : โรงพิมพ์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2509.

(2)

บรรณานุกรม (ต่อ)

ภรณี กีรติบุตร. (2529). ใน วีระวัฒน์ ยวงตระกูล. ความผูกพันที&มีต่อองค์การของผู้บริหาร ระดับกลาง : ศึกษากรณีการเคหะแห่งชาติ. ภาคนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

รองศาสตราจารย์ เศกสิน ศรีวัฒนานุกูลกิจ.(2550). คําบรรยายในวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์

Human Resource Administration.

เศาวนิต เศาณานนท์.(2542). ภาวะผู้นํา. กรุงเทพฯ : โครงการตําราวิชาการราชภัฏเฉลิมพระเกียรติ

เนื(องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมพรรษา ครบ 6 รอบ,

สกาว คงสําราญ.(2547) การพัฒนาแบบวัดความผูกพันของพนักงาน: กรณีศึกษา บริษัทฯ ในกลุ่ม สมบูรณ์. ภาคนิพนธ์วิทยาศาสตร์บัณฑิต โครงการบัณฑิตศึกษาการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

วิกันยา นนสะดู.(2549) ความทุ่มเทต่อองค์การของพนักงานการรถไฟแห่งประเทศไทย. . . . วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการจัดการ. มหาวิทยาลัยสุรนารี.

วัชรี หวังนุช. (2550). การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร แรงจูงใจในการทํางาน ความผูกพันต่อองค์การ และ ความคิดที จะโยกย้ายสถานที ทํางาน กรณีศึกษาพนักงานโรงงานยาสูบ. วิทยานิพนธ์

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วิไลพร คัมภิรารักษ์. (2542).ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการบังคับบัญชาและความผูกพันต่อ องค์กรและผลของปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับผู้ใต้บัญชาที&มีต่อ ความผูกพันต่อองค์การของผู้ใต้บังคับบัญชา :กลุ่มบริษัทนํLาตาลแห่งหนึ&ง. เชียงใหม่ : บัณฑิตศักษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อัญชนา พันธุ์อรุณ. (2546). ปัจจัยที&ส่งผลต่อพฤติกรรมการทํางานของมัคคุเทศก์ที&จดทะเบียนใน เขตกรุงเทพมหานคร ณ การท่องเที&ยวแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท.

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

(3)

อโณทัย สินวีรุทัย.(2550).ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบพฤติกรรมการนําของผู้บังคับบัญชาตาม แนวคิดข่ายการบริหารงานกับความผูกพันในงานตามการรับรู้ของผู้ใต้บังคับบัญชา:

กรณีศึกษาศูนย์บริการผลิตภัณฑ์สุขภาพเบ็ดเสร็จ ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและ ยากระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยา อุตสาหกรรมและองค์การ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อนันต์ชัย คงจันทร์.(2529). ความผูกพันต่อองค์การ. จุฬาลงกรณ์ปริทัศน์. 9, 34 (กันยายน): 34-41

(4)

BIBLIOGRAPHY

Allen, Natalie J. , and Meyer, John P. The measurement and antecedents of affective, Continuance and normative commitment to the organization , Journal of Occupational Psychology 63., 1990 : 1-18.

Blake, Robert R. and McCanse, Adams Anne.(1991) . Leadership Dilemmas Grid Solutions.

Houston: Gulf.

Jermier, John M., and Berkes. (1997). Behavior in a Police Command Bureaucracy : A Close Look atthe Quasi-Military Model ,Administrative Science Quaterly, March.

Mathieu, John E., and Zajac, Dennis M. (1990). A Review and Meta-Analysis of the Antecedents,Correlates, and Consequences of Organizational Commitment, Psychological Bulletin.

Otto, Carol Ann. (1994).The relationship between Transformation Leadership and Employee Loyalty,Employee Commitment, and Employee Perception of Organization Justice.

Dissertation Abstract.

Ulrich, D.(1997). Human Resources Champions. Boston: Harvard Business School Press.

Vroom, V.H. and Yetton, P.W.(1973). Leadership and Decision Making. Pittsburght, PA:

University of Pittsburght Press.

(5)

ภาคผนวก

(6)

ภาคผนวก ก

แบบสอบถามเพื&อการศึกษา

(7)

แบบสอบถามเพื&อการศึกษา

เรื&อง ความสัมพันระหว่างรูปแบบภาวะผู้นํา

กับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน บริษัท แปลน เอสเตท จํากัด คําชีLแจง

แบบสอบถามฉบับนี|เป็นแบบสอบถามที(จัดทําขึ|นสําหรับการศึกษาวิจัย เพื(อการค้นคว้า อิสระในหลักสูตรการศึกษาระดับปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

แบบสอบถามฉบับนี|นอกจากเป็นส่วนหนึ(งของการศึกษาวิจัยแล้ว ทั|งนี|ผลที(ได้จากการ ศึกษาวิจัยจะทําให้ทราบถึง ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบภาวะผู้นํากับความผูกพันต่อองค์การของ พนักงาน เพื(อใช้เป็นแนวทางสําหรับวางแผนในการพัฒนารูปแบบภาวะผู้นําของผู้บังคับบัญชาใน องค์กร เพื(อเพิ(มระดับความผูกพันที(พนักงานมีต่อองค์กร โดย แบบสอบถามนี| แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี|

ส่วนที( 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม

ส่วนที( 2 ข้อคําถามเกี(ยวกับรูปแบบภาวะผู้นําของผู้บังคับบัญชาตามการรับรู้ของพนักงาน ส่วนที( 3 ข้อคําถามเกี(ยวกับระดับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน

สําหรับข้อมูลต่าง ๆ ที(ได้มา ผู้ศึกษาวิจัยจะนําไปใช้ในทางวิชาการเท่านั|น จึงขอความกรุณา ผู้ตอบแบบสอบถามทุกท่าน ช่วยตอบแบบสอบถามด้วยข้อมูลที(เป็นจริงให้ได้มากที(สุด โดยผู้วิจัย หวังว่าจะได้รับความร่วมมือจากท่านเป็นอย่างดี จึงขอขอบพระคุณท่านเป็นอย่างยิ(ง ที(ได้กรุณาสละ เวลาอันมีค่าของท่านในการตอบแบบสอบถามในครั|งนี|

(8)

คําชี|แจง โปรดทําเครื(องหมาย ลงใน หน้าหัวข้อในช่องว่าง ข้อ 1-6 ที(ตรงกับข้อมูล ส่วนตัวท่านมากที(สุด

ส่วนที( 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม 1. เพศ

1. � ชาย 2. � หญิง 2. อายุตัว

1. � 20 -30 ปี 2. � 31-40 ปี 3. � 40-50 ปี 4. � 50 ปีขึ|นไป 3. อายุงาน

1. � 1-5 ปี 2. � 6 -10 ปี 3. � 11-15 ปี 4. � 16-20 ปี

5. � มากกว่า 20 ปี (โปรดระบุ...) 4. ระดับการศึกษา

1. � ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั|นสูง (ปวส.)หรือเทียบเท่า 2. � ปริญญาตรี

3. � ปริญญาโท 4. � ปริญญาเอก

5. � อื(นๆ...

5. สถานภาพสมรส

1. � โสด 2. � สมรสแล้ว 3. � หม้าย 4. � หย่าร้าง 6. ระดับตําแหน่ง

1. � พนักงานระดับปฏิบัติการ 2. � พนักงานระดับบังคับบัญชา

3. � พนักงานระดับจัดการ (ผู้จัดการแผนกขึ|นไป) 7. ระดับขั|นเงินเดือน

1. � ตํ(ากว่า 15,000 บาท 4. � 35,001 – 45,000 บาท 2. � 15,001 – 25,000 บาท 5. � 45,001 บาทขึ|นไป 3. � 25,001 – 35,000 บาท

(9)

ส่วนที& 2 ข้อคําถามเกี&ยวกับรูปแบบภาวะผู้นําของผู้บังคับบัญชาตามการรับรู้ของพนักงาน คําชีLแจง ให้ท่านทําเครื(องหมาย ลงในช่องระดับความคิดเห็น ที(ตรงกับความคิดเห็นของท่าน

ข้อ รายการ

ระดับความเห็น มาก

ที(สุด มาก ปาน

กลาง น้อย น้อย ที(สุด

5 4 3 2 1

1 ผู้บังคับบัญชาของท่านเป็นผู้กําหนดแนว ทางการทํางานให้หน่วยงาน

2 คําชี|ขาดของผู้บังคับบัญชาถือเป็นข้อ สิ|นสุด

3 ผู้บังคับบัญชาของท่านเป็นผู้ตัดสินใจด้วย ตัวเองในทุกกรณี

4 ผู้บังคับบัญชาของท่านเน้นการควบคุมงาน เพื(อให้พนักงานทํางานหนักและมุ่งสู่

เป้าหมายที(กําหนด

5 ผู้บังคับบัญชามักกดดันในการทํางาน เพื(อให้งานสําเร็จ

6 ผู้บังคับบัญชาของท่านให้ความสําคัญกับ ท่านในฐานะคนทํางานน้อยมาก ส่วนใหญ่

ให้ความสําคัญกับความสําเร็จของงาน 7 ผู้บังคับบัญชาของท่านเป็นผู้ชี|ขาดและ

ตัดสินปัญหา เพื(อให้การปฏิบัติงานเป็นไป อย่างรวดเร็ว

8 ผู้บังคับบัญชาของท่านเน้นการใช้อํานาจ ในการชี|ขาดและตัดสินปัญหาเพื(อมิให้การ ปฏิบัติงานล่าช้า

(10)

9 ผู้บังคับบัญชาของท่านยินดีรับฟังความ คิดเห็นของผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงาน 10 ผู้บังคับบัญชาของท่านรับฟังความคิดเห็น

ของผู้อื(นเสมอ เพราะหัวหน้างานของท่าน คํานึงถึงความรู้สึกและความต้องการของ ผู้อื(นเป็นสําคัญ

11 หากต้องแสดงความคิดเห็นผู้บังคับบัญชา ของท่านต้องการให้ผู้ปฏิบัติงานเห็นชอบ ด้วย

12 ผู้บังคับบัญชาของท่านพยายามไม่เป็นผู้

ก่อให้เกิดความขัดแย้ง แต่หากมีข้อขัดแย้ง เกิดขึ|นก็ไม่พยายามทําลายความรู้สึกของ แต่ละฝ่าย

13 การตัดสินใจของผู้บังคับบัญชาของท่าน คํานึงถึงความรู้สึกของคนกลุ่มใหญ่ในที(

ทํางาน

14 ผู้บังคับบัญชาของท่านพยายามพูดให้

ผู้ปฏิบัติงานรู้สึกดีเพื(อให้พวกเค้ามี

กําลังใจในการทํางาน

15 การแสดงความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชา ของท่านมักเป็นไปตามเสียงข้างมากใน หน่วยงาน

16 ผู้บังคับบัญชาของท่านต้องการทราบ ความเห็นของทุกคนก่อนการตัดสินใจ

(11)

ส่วนที& 3 ข้อคําถามเกี&ยวกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน

คําชีLแจง คําชี|แจง ขอให้ท่านพิจารณาข้อคําถามต่อไปนี|แล้วให้ท่านทําเครื(องหมาย ลงในข้อ คําถามที(ตรงกับความรู้สึกหรือใกล้เคียงกับความคิดเห็นของท่านมากที(สุด ณ.ปัจจุบัน

ข้อ รายการ

ระดับความเห็น มาก

ที(สุด มาก ปาน

กลาง น้อย น้อย ที(สุด

5 4 3 2 1

1 ท่านจะทํางานที(บริษัท แปลน เอสเตท จํากัด จนเกษียณ

2 ท่านจะปฏิบัติงานที(ได้รับมอบหมายอย่าง เต็มความสามารถเพื(อความสําเร็จของ องค์การ

3 ท่านเต็มใจที(จะปฏิบัติงานแม้ว่างานนั|น ไม่ได้อยู่ในความรับผิดชอบของท่าน

4 ท่านรู้สึกพอใจที(ได้ทํางานในบริษัท แห่งนี|

5 ท่านเต็มใจที(จะทํางานต่อจนเสร็จแม้ว่าจะ เลิกงานแล้ว

6 ท่านทุ่มเทความพยายามที(จะทํางานให้ดี

ที(สุดเพื(อเป้าหมายของบริษัท

7 ท่านไม่คิดจะลาออกจากบริษัท นี|เพราะ ความผูกพันเหมือนครอบครัวเดียวกัน 8 ท่านมีความภูมิใจที(ได้ทํางานกับบริษัทนี|

9 ท่านรู้สึกผิดที(ลากออกจากบริษัท นี| แม้

ได้รับข้อเสนอใหม่ที(ดีกว่า

(12)

10 ท่านจะไม่ลาออกจากบริษัทแห่งนี| เพราะ ผลตอบแทนที(สูงกว่าที(อื(น

11 การที(ท่านมีการดํารงที(ชีวิตที(น่าพอใจใน ปัจจุบันเพราะรายได้จากบริษัทนี|ที(ท่า ทํางานอยู่

12 ท่านรู้สึกว่าบริษัทนี|ได้ให้โอกาศ ผู้ปฏิบัติงานได้ทํางานตามความถนัด 13 ความผูกพันกับบริษัทนี|เกิดจากการได้

ทํางานที(ตรงกับความรู้ความสามารถและ ความก้าวหน้าในอาชีพ

14 ท่านเชื(อมั(นว่าทํางานอยู่ในบริษัท นี|จะช่วย ให้ท่านได้พัฒนาศักยภาพและ

ความสามารถของตนเองได้ถึงขั|นสูงสุด 15 ท่านไม่คิดว่าหน่วยงานอื(นจะให้

ค่าตอบแทนดีเท่ากับบริษัท นี|

16 ท่านจะไม่ไปทํางานในที(ใหม่ที(มีรายได้

ดีกว่าขณะนี| เพราะท่านรู้สึกว่าตัวเองได้

ทํางานที(ท่านชอบและตรงตามความถนัด ของท่านแล้ว

17 นโยบายการบริหารงานของบริษัทนี|

สอดคล้องและตรงตามความต้องการของ ท่าน

18 ท่านมักจะชักชวนเพื(อนฝูงให้มาทํางาน ร่วมกับ บริษัท แห่งนี|เพราะศรัทธา

(13)

เป้าหมายและนโยบาย

19 เมื(อมีบุคคลกล่าวถึงบริษัทแห่งนี|แบบเสีย ๆ หาย ๆท่านจะรีบชี|แจงกล่าวแก้ทันที

20 ท่านมักพูดถึงคุณงานความดีของบริษัท แห่งนี|ให้เพื(อน ๆ ฟัง

21 ท่านรู้สึกว่า คําว่าเพื(อนในบริษัทนี|มี

ความหมายต่อท่านอย่างมาก

22 ท่านเต็มใจที(จะปฏิบัติตามนโยบายของ บริษัท

23 ท่านคิดว่าถ้าบริษัทอยู่ได้ ท่านก็จะอยู่ได้

24 ท่านภูมิใจที(จะบอกใคร ๆ ว่าท่านทํางานที(

บริษัทแห่งนี|

ส่วนที& 4 ข้อเสนอแนะ

………

………

………

………

………

………

Referensi

Dokumen terkait

การศึกษาแนวทางพัฒนาคุณภาพการใหบริการขนสงสินคาในประเทศ : ศึกษากรณี บริษัท รีเจนท ฟอรเวิดดิ้ง เอ็กซเพรช จํากัด.. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารทั่วไป,

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับพนักงาน องค์กรขนาดใหญ่ กรณีศึกษา : แผนกก่อสร้าง โรงงานบางชัน บริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จํากัด มหาชน ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับ การศึกษา