• Tidak ada hasil yang ditemukan

คุณภาพชีวิตในการทํางาน. http: // km.nida.ac.th / center / pdf / qwl.pdf เขาถึง วันที่ 31 ตุลาคม 2550

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "คุณภาพชีวิตในการทํางาน. http: // km.nida.ac.th / center / pdf / qwl.pdf เขาถึง วันที่ 31 ตุลาคม 2550 "

Copied!
24
0
0

Teks penuh

(1)

คุณภาพชีวิตในการทํางาน. www.thaimarketcenter.com / ecommerce / pawana / images /คุณภาพ ชีวิต .doc เขาถึง วันที่ 31 ตุลาคม 2550

คุณภาพชีวิตในการทํางาน. http: // km.nida.ac.th / center / pdf / qwl.pdf เขาถึง วันที่ 31 ตุลาคม 2550

จารุวรรณ ชิตโชติ.. (2540).. ความพึงพอใจในงาน: ศึกษากรณีพนักงานระดับลางในโรงงาน อุตสาหกรรม วิทยานิพนธ สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคม วิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

จีระ หงสลดารมย. (2533,พฤศจิกายน). ผลตอการพัฒนาทรัพยากรมนุษย คุณภาพชีวิตและ เศรษฐกิจ . วารสารคน. หนา 27-28

ชุติมา เที่ยงคํา. 2547. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของนักบัญชีและนักการเงินบริษัท

ปตท . จํากัด (มหาชน). กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธปริญญาโท.

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2530). สภาพแวดลอมของการบริหารกับการพัฒนาองคการ . การ พัฒนาองคการ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. หนา 155

ถิรวุฒิ แสงมณีเดช. ( 2547 ). ปจจัยที่มีความสัมพันธกับการตัดสินใจเลือกศึกษาตอในสาย สามัญหรือสายอาชีวศึกษา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 : กรณีศึกษาโรงเรียน เบญจมราชูทิศและโรงเรียนดรุณา จังหวัดราชบุรี. ปริญญานิพนธ เศรษฐศาสตร

มหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตรการศึกษา. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ

ทรงเกียรติ ปกเคหา. ( 2548 ). การศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับการเลือกศึกษาตอสาย สามัญหรือสายอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม ปการศึกษา 2547. ปริญญานิพนธ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตรการศึกษา.

กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

(2)

บรรษัทบริหารสินทรัพยสถาบันการเงิน. กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ทิพวรรณ สุวรรณประภา. ( 2548 ). ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจในการศึกษาตอในมหาวิทยาลัย เกษมบัณฑิตของนักเรียนโรงเรียนเกษมพิทยา. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

ธงชัย สันติวงษ.. ( 2539) . พฤติกรรมผูบริโภคทางการตลาด. กรุงเทพฯ : โรงพิมพไทยวัฒนา พานิช จํากัด. พิมพครั้งที่ 8

. ( 2543 ). องคการและการบริหาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด. พิมพ

ครั้งที่ 11

ธ น รั ช ต ส มุ ท ร เ พ็ ช ร . ( 2 5 4 9 ) . ป จ จั ย ลัก ษ ณ ะ ส ว น บุ ค ค ล ที่ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ ต อ ร ะ ดั บ ความสามารถหลักของพนักงาน โรงพยาบาลกรุงเทพระยอง และประสิทธิผลที่

องคกรไดรับจากการพัฒนาความสามารถหลักใหกับพนักงาน. กรุงเทพมหานคร : การศึกษาอิสระ มหาวิทยาลัยขอนแกน

ธานินทร ศิลปจารุ, ผูชวยศาสตราจารย. (2549). การวิจัยและวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย SPSS . กรุงเทพฯ : บริษัท วี.อินเตอร พริ้นท. พิมพครั้งที่ 5

ธารี วารีสงัด. (ม.ค. - เม.ย. 2546) . วารสารวิจัยและฝกอบรม “ ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือก ประกอบอาชีพหรือศึกษาตอของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ”

บรรยง ตั้งวรธรรม. 2547. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท แคปปติตอล แมกซ จํากัด. กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ประภาภรณ เจริญชัยนพกุล. ( 2548 ). ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกเรียนหลักสูตรศิลปศา สตรบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบแฟชั่น. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

ปรียาพร วงศอนุตรโรจน. 2535. จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ: ศูนยสื่อเสริม กรุงเทพ .

ปยะนุช ขันสาครกิตติ. ( 2548 ). แรงจูงใจในการศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยศรี

นครินทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการอุดมศึกษา กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

พลิกกลยุทธองคกรเพิ่ม 'QWL' สรางคุณภาพงาน-ชีวิต . ( 2550) URL :

http://www.2poto.com /exwebboard/01176.html เขาถึง วันที่ 4 พฤษภาคม 2551

(3)

เพื่อปรับปรุงการบริหารจัดการแบบไทย , วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ภัทราวรรณ บุณโยประการ. ( 2547 ). ปจจัยที่มีผลตอแรงจูงใจในการเขาเรียนแพทยโดยวิธี

สอบตรงของนักศึกษาแพทย คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.

สารนิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ภูมินทร พุมพันธุมวง. 2547. ความพึงพอใจในการทํางานของตํารวจกองบังคับการตํารวจ ปราบปรามยาเสพติด 2. กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร

ภูวนัย นอยวงศ . (2541). คุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานปฏิบัติการในโรงงาน อุตสาหกรรมอิเลคทรอนิกส : ศึกษากรณีเฉพาะบริษัท มินีแบไทย จํากัด.

กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ภูษณิศา เมธาธรรมสาร. (2548). คุณภาพชีวิตในการทํางานของนักบินบริษัทไทยแอรเอเซีย จํากัด. วิทยานิพนธ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร) สาขา บริหารรัฐกิจ.

กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

มยุรี ชวนชม. (2549). ความสัมพันธระหวางคุณภาพชีวิตการทํางานและความผูกพันตอ อ ง ค ก ร ข อ ง พ น ัก ง า น ฝ า ย บ ุค ค ล ข อ ง บ ร ิษ ัท ต า ง ๆ ที ่ตั ้ง อ ยู ใ น เ ข ต ส ง เ ส ร ิม อ ุต ส า ห ก ร ร ม น ว น ค ร ( ป ทุ ม ธ า นี ) . ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร : ก า ร ศึ ก ษ า อิ ส ร ะ มหาวิทยาลัยขอนแกน

แรงจูงใจที่มีตอความพึงพอใจในงานและความผูกพันที่มีตองาน. URL : http: // pirun.ku.ac.th /

~g4968073 / report / 475531 / Motivation_Job_by_2.doc เขาถึง วันที่ 31 ตุลาคม 2550 วรนารถ มีภูมิรู. ( 2546 ). ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเขาเรียน การศึกษานอกโรงเรียนสาย

สามัญระดับมัธยมศึกษาตอนตน ของผูใชแรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ จังหวัด สมุทรปราการ. สารนิพนธ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตรการศึกษา.

กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

วรนิษฐา ซุมทองหลาง. ( 2548 ). ปจจัยที่มีความสัมพันธตอการตัดสินใจศึกษาระดับปริญญาโท ในสถาบันราชภัฎ. วิทยานิพนธ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ราชภัฎวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ

วราภรณ รุจิชิต. ( 2548 ). ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกเขาศึกษาตอหลักสูตรนิติศาสตร บัณฑิต ของคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต.

กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

(4)

บริหารธุรกิจ. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษม บัณฑิต

วิรัช สงวนวงศวาน,รองศาสตราจารย. ( 2546 ). การจัดการและพฤติกรรมองคการ. กรุงเทพฯ : บริษัท เพียรสัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชนา จํากัด. พิมพครั้งที่

สมยศ นาวีการ. (2540). การบริหารและพฤติกรรมองคการ. กรุงเทพฯ: ผูจัดการ .

สมหวัง โอชารส. (2542). คุณภาพชีวิตการทํางานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลตํารวจ สํานักงานแพทยใหญ กรมตํารวจ. กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธปริญญาโท:

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

สังวาลยคํา สิงหเพชรชัยปญญา. ( 2543 ). ปจจัยที่มีผลตอความตั้งใจในการประกอบอาชีพครู

และพฤติกรรมการตัดสินใจเขาศึกษาตอในวิทยาลัยครูของนักศึกษา ในประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมวิทยาการพัฒนา. ขอนแกน : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.

สินชัย ฉายรัศมี. ( 2544 ). ปจจัยที่มีผลตอคุณภาพชีวิตการทํางาน : ศึกษาเจาหนาที่ควบคุม การจราจรทางอากาศ ทาอากาศยานกรุงเทพ และศูนยควบคุมการจราจรทางอากาศ บริษัทวิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด. กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

เสรี วงษมณฑา,รองศาสตราจารย. ( 2542 ). พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ : บริษัทธีระฟลมและ ไซเท็กซ

อดุลย จาตุรงคกุล. ( 2542 ). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

พิมพครั้งที่ 2

อุษณีย จงสุกใส. ( 2545 ). แรงจูงใจตอการเลือกเขาศึกษาตอระดับปริญญาโทของนักศึกษาชั้น ปที่ 1 มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การวัดและ ประเมินผลการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง

Bluestone, I. 1977. “Implementing Quality of Worklife Programs”. Management Review. 5(July 1977) : 44. อางถึงใน นฤดล มีเพียร . 2541. คุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงาน ตอนรับบนเครื่องบิน บริษัท การบินไทย จํากัด . กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธ

ปริญญาโท , มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร .

(5)

August 1977) : 53. อางถึงใน สินชัย ฉายรัศมี . 2544. ปจจัยที่มีผลตอคุณภาพชีวิตการ ทํางาน : ศึกษาเจาหนาที่ควบคุมการจราจรทางอากาศทาอากาศยานกรุงเทพและศูนย

ควบคุมจราจรทางอากาศ บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด . กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธปริญญาโท , มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร .

Guest, R.H. 1979a “Quality of Work Life – Learning from Tarrtown”. Harvard Business Review. 20(July-August 1979) : 76-87. อางถึงใน ภูวนัย นอยวงศ . 2541. คุณภาพชีวิตการ ทํางานของพนักงานปฏิบัติการในโรงงานอุตสาหกรรมอิเลคทรอนิกส : ศึกษากรณี

เฉพาะบริษัท มินีแบไทย จํากัด . กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธปริญญาโท , มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร .

Walton, R.E. (1973). Quality of Working Lift : What Is It?. Stone Management Review.

15(September 1973): 12-16.

(6)
(7)

ภาคผนวก ข

แบบสอบถามสําหรับนักศึกษาที่ศึกษาในสถานศึกษา

ที่จัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ในรูปแบบอาคารสํานักงาน

(8)

แบบสอบถามเพื่อการวิจัย

เรื่อง คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงาน ที่สงผลตอความพึงพอใจของนักศึกษาและปจจัยในการ ตัดสินใจเลือกเรียนตอในระดับบัณฑิตศึกษา ที่มีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบอาคารสํานักงาน

คําชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม

แบบสอบถามนี้เปนสวนหนึ่งของการทําวิจัยเรื่อง “คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงาน ที่สงผลตอ ความพึงพอใจของนักศึกษาและปจจัยในการตัดสินใจเลือกเรียนตอในระดับบัณฑิตศึกษา ที่มีการจัดการเรียน การสอนในรูปแบบอาคารสํานักงาน” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อการศึกษาวิจัย ซึ่งเปนสวนหนึ่งของหลักสูตรวิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทรัพยากรมนุษย มหาวิทยาลัยศรีปทุม

แบบสอบถามแบงเปน 3 ตอนดังนี้

ตอนที่ 1 คําถามเกี่ยวกับลักษณะสวนบุคคล

ตอนที่ 2 คําถามเกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษา ที่ศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษา ที่จัดการเรียนการ สอนในรูปแบบอาคารสํานักงาน

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจในปจจัยใดที่สงผลตอการเลือกศึกษาตอในระดับบัณฑิตศึกษา รูปแบบอาคาร สํานักงาน มากที่สุด

ตอนที่ 1 ดานขอมูลสวนตัว 1. เพศ

1) ชาย 2) หญิง

2. อายุ

1) 20-25 ป 2) 26-30 ป

3) 31-35 ป 4) 36-40 ป

5) 41-45 ป 6) 46-50 ป

7) 51 ปขึ้นไป 3. สถานภาพ

1) โสด 2) สมรส

3) หยาราง/หมาย 4. อาชีพ

1) ราชการ / รัฐวิสาหกิจ 2) บริษัทเอกชน

3) สถาบันการเงิน 4) ธุรกิจสวนตัว 5) วางงาน

(9)

5. รายไดตอเดือน

1) นอยกวา 10,000 บาท 2) 10,000-20,000 บาท

3) 20,001-30,000 บาท 3) 30,001-40,000 บาท

5) 40,001-50,000 บาท 6) 50,001 ขึ้นไป

ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่ศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ที่มีการจัดการเรียนการสอนในอาคาร สํานักงาน

ขอความ

ระดับความพึงพอใจ นอย

ที่สุด

นอย ปาน กลาง

มาก มาก

ที่สุด

ปจจัยดานผลิตภัณฑ 1 2 3 4 5

1. ความหลากหลายของหลักสูตร 2. หลักสูตรตรงตามความตองการ 3. มีชวงเวลาใหเลือกเรียนหลากหลาย 4. คุณภาพของหลักสูตร

5. ภาพลักษณของมหาวิทยาลัย

ปจจัยดานราคา 1 2 3 4 5

6. อัตราคาเลาเรียนเมื่อเทียบกับความสามารถในการ ชําระ

7. ความคุมคาของอัตราเลาเรียนเมื่อเปรียบเทียบกับ คุณภาพของหลักสูตร

8. ความคุมคาของอัตราเลาเรียนเมื่อเปรียบเทียบกับ หลักสูตรเดียวกันในมหาวิทยาลัยอื่น

9. ความคุมคาของอัตราเลาเรียนเมื่อเปรียบเทียบกับ ชื่อเสียง / ภาพลักษณของมหาวิทยาลัย

10. กําหนดคาใชจายตอหลักสูตรชัดเจน

ปจจัยดานสถานที่ 1 2 3 4 5

11. ใกลที่ทํางาน / ที่พัก 12. ใกลทางดวน 13. มีที่จอดรถฟรี

14. มีรถไฟฟา / รถไฟใตดินผาน 15. มีรถประจําทางผานหลายสาย

ปจจัยดานสงเสริมการตลาด 1 2 3 4 5

16. มีการโฆษณา ประชาสัมพันธ

(10)

18. มีเอกสารประกอบการเรียน และหนังสือเรียนฟรี

ขอความ

ระดับความพึงพอใจ นอย

ที่สุด

นอย ปาน กลาง

มาก มาก

ที่สุด 19. มีชองทางในการชําระคาเลาเรียนที่หลายหลาย เพิ่อ

อํานวยความสะดวกแกนักศึกษา

20. มีการจัดกิจกรรมตางๆ เพื่อสรางภาพลักษณที่ดีของ มหาวิทยาลัย

ปจจัยดานบุคลากร 1 2 3 4 5

21. ชื่อเสียงของคณาจารย

22. ประสบการณการทํางานของคณาจารย

23. มีเจาหนาที่ใหคําแนะนําปรึกษาเรื่องหลักสูตร 24. เจาหนาที่ มีความกันเอง ยิ้มแยมแจมใส 25. การใหขอมูลขาวสารที่ชัดเจน

ปจจัยดานกระบวนการ 1 2 3 4 5

26. ความรวดเร็วในการประสานงาน

27. มีเวบไซตแจงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการเรียนการสอน 28. กระบวนการจายคาเทอม ไมยุงยาก

29. กระบวนการจัดการเรียนการสอน เปนไปตาม Crouse Outline

ปจจัยดานบรรยายกาศในการเรียนรู 1 2 3 4 5

30. พื้นที่กวางขวางเพียงพอตอจํานวนนักศึกษา 31. หองเรียนกวางขวางตอจํานวนนักศึกษา 32. หองพักนักศึกษามีเพียงพอตอความตองการ

33. จํานวนเครื่องคอมพิวเตอรเพียงพอตอจํานวนนักศึกษา 34. บรรยากาศในหองสมุดและหนังสือสามารถสงเสริมการ

เรียนรูใหแกบัณฑิตศึกษา

(11)

ตอนที่ 3 ทานพึงพอใจในดานใด ในการศึกษาตอในระดับบัณฑิตศึกษา รูปแบบอาคารสํานักงาน มากที่สุด โดยเรียงลําดับจาก 1. มากที่สุด จนถึง 7. นอยที่สุด

( ) 1. ดานผลิตภัณฑ

( ) 2. ดานราคา ( ) 3. ดานสถานศึกษา

( ) 4. ดานการสงเสริมการตลาด ( ) 5. ดานบุคลากร

( ) 6. ดานกระบวนการ

( ) 7. ดานบรรยากาศในการเรียนรู

ตอนที่ 4 สถานศึกษาที่ทานตัดสินใจศึกษาตอในระดับบัณฑิตศึกษา ที่มีการจัดการเรียนการสอน รูปแบบ อาคารสํานักงาน ในยาน สาทร สีลม

1. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

2. มหาวิทยาลัยขอนแกน 3. มหาวิทยาลัยบูรพา 4. มหาวิทยาลัยรังสิต

5. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

(12)
(13)

ภาคผนวก ก

แบบสอบถามสําหรับพนักงานที่ทํางานในสถานศึกษา

ที่จัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ในรูปแบบอาคารสํานักงาน

(14)

เรื่อง คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงาน ที่สงผลตอความพึงพอใจของนักศึกษาและปจจัยในการ ตัดสินใจเลือกเรียนตอในระดับบัณฑิตศึกษา ที่มีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบอาคาร สํานักงาน

คําชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม

แบบสอบถามนี้เปนสวนหนึ่งของการทําวิจัยเรื่อง “คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงาน ที่สงผล ตอความพึงพอใจของนักศึกษาและปจจัยในการตัดสินใจเลือกเรียนตอในระดับบัณฑิตศึกษา ที่มีการจัดการ เรียนการสอนในรูปแบบอาคารสํานักงาน” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อการศึกษาวิจัย ซึ่งเปนสวนหนึ่งของหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทรัพยากรมนุษยมหาวิทยาลัยศรีปทุม

แบบสอบถามแบงเปน 3 ตอนดังนี้

ตอนที่ 1 คําถามเกี่ยวกับลักษณะสวนบุคคล

ตอนที่ 2 คําถามเกี่ยวกับระดับคุณภาพชีวิตของพนักงานในสถานศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ที่จัดการ เรียนการสอนในรูปแบบอาคารสํานักงาน

ตอนที่ 3 คําถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจของพนักงานในสถานศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ที่จัดการ เรียนการสอนในรูปแบบอาคารสํานักงาน

ตอนที่ 1 ดานขอมูลสวนตัว 6. เพศ

1) ชาย 2) หญิง

7. อายุ

1) 20-25 ป 2) 26-30 ป

3) 31-35 ป 4) 36-40 ป

5) 41-45 ป 6) 46-50 ป

7) 51 ปขึ้นไป 8. สถานภาพ

1) โสด 2) สมรส

3) หยาราง/หมาย 9. ระดับการศึกษา

1) ต่ํากวาปริญญาตรี 2) ปริญญาตรี

3) ปริญญาโท 4) ปริญญาเอก

10. สถานศึกษาที่ทํางานรูปแบบอาคารสํานักงาน

1) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2) มหาวิทยาลัยขอนแกน

(15)

5) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

11. ประสบการณการทํางานในสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอน รูปแบบอาคารสํานักงาน

1) นอยกวา 1 ป 2) 1-3 ป

3) 4-6 ป 4) 7-9 ป

5) 10 ปขึ้นไป 12. รายไดตอเดือน

1) นอยกวา 10,000 บาท 2) 10,000 – 15,000 บาท

3) 15,001 – 20,000บาท 4) 20,001 - 25,000บาท 5) 25,000 บาทขึ้นไป

ตอนที่ 2 ระดับคุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานของสถานศึกษา ที่จัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา ในรูปแบบอาคารสํานักงาน

ตอนที่ 2.1

คําชี้แจง : ใหทานเติมเลขลําดับที่ 1-8 ลงใน ( ) หนา องคประกอบคุณภาพชีวิตในการทํางานที่ทานไดรับ จากหนวยงานของทานที่คิดวาเหมาะสม โดยเรียงลําดับความสําคัญจากมาก (1) ไปหานอย (8)

( ) ดานคาตอบแทนที่เพียงพอและมีความยุติธรรม ( ) ดานความกาวหนาและความมั่นคง

( ) ดานสังคมสัมพันธ

( ) ดานการนําหลักประชาธิปไตยมาใช

( ) ดานความสมดุลระหวางงานและชีวิตสวนตัว ( ) ดานโอกาสในการพัฒนาสมรรถภาพของตนเอง

( ) ดานสภาพการทํางานมีความปลอดภัยและสงเสริมสุขภาพ ( ) ดานองคกรที่เปนประโยชนตอสังคม

ตอนที่ 2.2

คําชี้แจง ในแตละองคประกอบคุณภาพชีวิตในการทํางาน ทานคิดวาหนวยงานนํามาปฎิบัติกับทานอยาง เหมาะสมในระดับใด

(กรุณาเรียงลําดับ ตามความเหมาะสม โดยที่ 1. เหมาะสมมากที่สุด ไปถึง 5 เหมาะสมนอยที่สุด)

ดานคาตอบแทนที่เพียงพอและมีความยุติธรรม ระดับ ปจจัย

1. เงินเดือนที่ทานไดรับอยูเหมาะสมกับงานที่ทานไดรับมอบหมาย

2. เงินเดือนและคาตอบแทนตางๆ ที่ทานไดรับเพียงพอกับคาใชจายที่เปนอยูในปจจุบัน 3. เงินเดือนที่ทานไดรับอยูเหมาะสมกับ ความรูความสามารถของทาน

(16)

รวดเร็ว

5. ทานตองการรายไดอื่นๆ เสริม เนื่องจากเงินเดือนที่ไดรับไมเพียงพอ ดานความกาวหนาและความมั่นคง

ระดับ ปจจัย

1. การเลื่อนตําแหนงในบริษัทที่ทานทํางานอยูขึ้นกับความสามารถของผูทํางาน 2. งานที่ทานทําอยูชวยใหทานไดเรียนรูและมีความสามารถเพิ่มขึ้น

3. การเลื่อนขั้นขึ้นเงินเดือนในปที่ผานมา ทานไดรับการพิจารณาใหไดรับการขึ้นเงินเดือนที่

เหมาะสมกับผลปฏิบัติงานของทานแลว

4. ทานรูสึกวา บริษัทของทานเปนที่นาสนใจจากบุคคลภายนอกที่อยากเขามาทํางาน เพราะมี

ความกาวหนาและมั่นคงสูง

5. ทานมีโอกาสไดรับมอบหมายงานที่มีขอบขายความรับผิดชอบมากขึ้น ดานสังคมสัมพันธ

ระดับ ปจจัย

1. เพื่อนรวมงานยอมรับความคิดเห็นและขอเสนอแนะของทาน 2. ทานและเพื่อนรวมงานมีความสัมพันธที่ดีตอกัน

3. เมื่อทานไดรับความเดือดรอน ผูบังคับบัญชายินดีที่จะรับฟงและใหความชวยเหลือแกทาน เสมอ

4. การปฏิบัติของผูบังคับบัญชาที่มีตอตัวทานทําใหทานรูสึกวามีคุณคามาก

5. บริษัทมีการแบงงานเปนแผนกตางๆ อยางเหมาะสม และทํางานประสานกันเปนอยางดี

ดานการนําหลักประชาธิปไตยมาใช

ระดับ ปจจัย

1. เพื่อนรวมงานมักใหเกียรติและเคารพในสิทธิสวนบุคคลเสมอ

2. ผูบังคับบัญชาของทานสนับสนุนใหทานไดแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน 3. ทานไดรับพิจารณาความดีความชอบอยางยุติธรรม

4. ทุกคนในที่ทํางานของทานสามารถแสดงความคิดเห็นในการทํางานได

5. หากทานถูกกลาวหามีความผิดในหนาที่การทํางาน ทานมั่นใจวาจะไดรับการพิจารณา สอบสวนดวยความเปนธรรม

ดานความสมดุละหวางงานและชีวิตสวนตัว ระดับ ปจจัย

1. งานของทานตองรับผิดชอบสูง ทําใหรูสึกเครียดตลอดเวลา

2. ปริมาณงานที่ทานไดรับมอบหมายมีมากเกินไป ทําใหทานตองทํางานลวงเวลา โดยไมได

รับเงินคาลวงเวลา หรือไดไมคุมเหนื่อย

3. ทานพอใจกับการใชเวลาใหกับการทํางาน ครอบครัวและกับตนเอง 4. ชีวิตครอบครัวและการทํางานของทานมีความสมดุลกัน

5. ทานสามารถที่จะลางานเพื่อไปพักผอนหรือทําธุระสวนตัวไดอยางอิสระ

(17)

ดานโอกาสในการพัฒนาสมรรถภาพของตนเอง ระดับ ปจจัย

1. บริษัทมีงบประมาณในการจัดการฝกอบรม

2. บริษัทมีการประเมินสมรรถนะของพนักงานและสงไปฝกอบรมตางๆ ทุกป

3. บริษัทสงเสริมใหพนักงานไดมีการศึกษาตอ 4. บริษัทมีทุนการศึกษาใหแกพนักงาน 5. พนักงานสามารถลาศึกษาตอได

ดานสภาพการทํางานมีความปลอดภัยและสงเสริมสุขภาพ ระดับ ปจจัย

1. มีการตรวจสุขภาพใหกับพนักงานเปนประจําทุกป

2. มีการอบรมใหความรูเรื่องความปลอดภัยในที่ทํางาน 3. มีปายบอกทิศทางของบันไดหนีไฟ และทางออกฉุกเฉิน 4. มีการประกันชีวิต / ประกันสุขภาพ ใหแกพนักงาน

5. มีการสงเสริมกิจกรรมสันทนาการ นันทนาการ และกีฬา ใหแกพนักงาน ดานองคกรที่เปนประโยชนตอสังคม

ระดับ ปจจัย

1. บริษัทของทานสนับสนุนการใหทุนการศึกษาแกนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย

2. บริษัทของทานมีทุนสนับสนุนงานวิจัยในดานตางๆ

3. บริษัทของทานไดมีการจัดบริการวิชาการใหแกบุคคลภายนอกที่สนใจ 4. บริษัทของทานรวมบริจาคเงินและสิ่งของ ใหแกมูลนิธิตางๆ

5. บริษัทของทานมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมตางๆ เพื่อสงเสริมประเพณีและศาสนาของ ไทย

(18)

ตอนที่ 3 ระดับความพึงพอใจในงานของพนักงานของสถานศึกษา ที่จัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา รูปแบบอาคารสํานักงาน

ปจจัย

ระดับความพึงพอใจ นอย

ที่สุด

นอย ปาน กลาง

มาก มาก

ที่สุด

ปจจัยดานหนาที่ ความรับผิดชอบ 1 2 3 4 5

1. ทานพอใจในปริมาณงานที่ไดรับมอบหมาย

2. งานที่ทานไดรับมอบหมายเปนงานที่ทาทายความสามารถ 3. ทานมีโอกาสใชความรูความสามารถ และประสบการณใน การทํางาน

4. ในสายงานของทานมีความชัดเจนในการแบงความ รับผิดชอบตามระดับการบังคับบัญชา

5. ทานคิดวางานที่ไดรับมอบหมายเปนงานที่มีความสําคัญ และมีคุณคาตอบริษัท

ปจจัยดานคาตอบแทน 1 2 3 4 5

6. คาตอบแทนที่ไดรับ เมื่อเทียบกับความรูความสามารถ ของทาน

7. คาตอบแทนที่ไดรับเมื่อเทียบกับปริมาณที่ทํา

8. สวัสดิการที่ไดรับ เชน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ สิทธิในการ ลาตางๆ

9. ผลประโยชนที่ไดรับจากบริษัท เมื่อเปรียบเทียบกับบริษัท อื่น

10. คาตอบแทนของทาน เมื่อเปรียบเทียบคาตอบแทนกับ คนอื่น ในบริษัทที่ทํางานคลายๆกับทาน

ปจจัยดานสถานที่ทํางาน 1 2 3 4 5

11. อุปกรณ เครื่องมืออํานวยความสะดวกในการทํางานที่จัด ใหทาน

12. สภาพแวดลอมของสถานที่ทํางานของทาน 13. การเดินทางมายังที่ทํางานสะดวก

14. พื้นที่ในการทํางานของทาน มีความกวางขวางเพียงพอ 15. แสงสวางในการทํางานมีความเหมาะสม

(19)

16. โอกาสที่จะกาวหนาทั้งในการดําเนินชีวิตสวนตัวและ อาชีพการงาน

17. ความกาวหนาในตําแหนงของทานเมื่อเทียบกับคนอื่น 18. ทานเห็นวาบริษัทมีความเปนธรรมในการพิจารณาเลื่อน ตําแหนง

ปจจัย

ระดับความพึงพอใจ นอย

ที่สุด

นอย ปาน กลาง

มาก มาก

ที่สุด 19. ทานเห็นวาตัวทานมีโอกาสไดรับความกาวหนาในสาย

อาชีพนี้

20. ทานเห็นวาบริษัทมีโอกาสกาวหนาในการทํางาน

ปจจัยดานความสัมพันธกับเพื่อนรวมงาน 1 2 3 4 5

21. ความรวมมือ และความชวยเหลือในการทํางานจากเพื่อน รวมงาน

22. การทํางานเปนทีม

23. ความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานใน บริษัท

24. โอกาสในการเสนอความคิดเห็นตอผูบังคับบัญชาและ ผูรวมงาน

25. การไดรับการยกยอง ชมเชย เชื่อถือ และไววางใจจาก ผูบังคับบัญชา

ปจจัยดานการบังคับบัญชา 1 2 3 4 5

26. ผูบังคับบัญชาของทานมีความรู ความเขาใจในงานของ ทาน

27. ทานไดรับคําแนะนําในการทํางานและการสนับสนุนจาก ผูบังคับบัญชา

28. ทานมีอิสระในการทํางานภายใตระเบียบขอบังคับของ บริษัท

29. ผูบังคับบัญชามีความเปนธรรมในการปกครองลูกนอง 30. การติดตอสื่อสารระหวางผูบังคับบัญชาและใต

ผูบังคับบัญชามีลักษณะไมเปนทางการ

ขอเสนอแนะ

(20)
(21)

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ - สกุล นางสาวอธิตานันท ลิ้มสังคมเลิศ วัน เดือน ปเกิด 28 ตุลาคม 2523

สถานที่เกิด กรุงเทพมหานคร

วุฒิการศึกษา 2545 การศึกษาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สถานที่ทํางานปจจุบัน เจาหนาที่วิชาการ

วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ

มหาวิทยาลัยขอนแกน ณ กรุงเทพมหานคร

(22)
(23)

ภาคผนวก ง

รายชื่อผูทรงคุณวุฒิ

(24)

รายชื่อผูทรงคุณวุฒิ

1. ดร.นรพล จินันทเดช

2. ดร.กรองกาญจน ณ นครพนม

3. ผูชวยศาสตราจารย.อํานาจ วังจีน

Referensi

Dokumen terkait

VII A SATISFICATION EVALUATION OF BUILDING SERVICE A CASE STUDY: THE CHURCH OF CHRIST IN THAILAND BUILDING นักศึกษา นางวิมาลา วุนบํารุง รหัสนักศึกษา 49801323 หลักสูตร