• Tidak ada hasil yang ditemukan

อมตธรรมของพระธรรมปิฎก

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "อมตธรรมของพระธรรมปิฎก"

Copied!
5
0
0

Teks penuh

(1)

อมตธรรมของพระธรรมปฎก (ประยุทธ ปยุตฺโต)

เลือกสรรเพื่อตีพิมพในสูจิบัตรในโอกาส ที่มหาวิทยาลัยศรีปทุมจัดพิธีถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์

ธนภณ ฐิตาภากิตติรัต

1. จริยธรรมของนักวิชาการ

งานวิชาการเปนงานดานเสริมสรางปญญา เพราะฉะนั้น จริยธรรมที่จะตองเนนก็คือจริยธรรมใน ระดับปญญา ซึ่งหมายความวา นอกจากมีความสุจริตใจ ซื่อสัตยตอเรื่องที่ทํา ไมลักไมขโมยเปนตนแลว ก็

ตองมีความรับผิดชอบในการทํางานวิชาการ เริ่มตั้งแตเรื่องขอมูล การจะตีความ วิเคราะห วินิจฉัยตาง ๆ ตองทําดวยความรับผิดชอบ เพื่อมุงจะนําผูอาน ผูฟง ฯลฯ ไปสูความจริง และนําเสนอความจริงใหถองแท...

ความซื่อตรงตอหลักฐานขอมูลขอเท็จจริง ความมีใจใฝรูมุงแสวงหาความจริง ความถูกตองแมนยําในการ นําเสนอ เจตนาที่เปนกุศลมุงปญญา นี้แหละคือตัวจริยธรรมทางวิชาการ

(พระธรรมปฎก(ประยุทธ ปยุตฺโต),กรณีเงื่อนงํา : พระพุทธเจาปรินิพพานดวยโรคอะไร ?, พิมพครั้ง ที่ 3, กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพสวยจํากัด, 2544, หนา 177-180)

2. การศึกษากับความสุข

การศึกษาจะตองถือเปนหนาที่ที่จะทําใหคนมีความสุข ปจจุบันนี้มีปญหาวา เราไดถือหนาที่นี้เปนสิ่ง สําคัญหรือไม การศึกษาปจจุบันทําใหคนมีความสุข หรือทําใหคนเปนคนหิวโหยกระหายความสุข ถา ดําเนินการศึกษาผิดพลาดก็จะทําใหคนไมมีความสุข แตการศึกษาจะกลายเปนเครื่องดูดสูบความสุขออกจาก คน

(พระเทพเวที(ประยุทธ ปยุตฺโต), การศึกษาที่สากลบนฐานภูมิปญญาไทย. กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2532, หนา 78) 3. จุดเปลี่ยนเศรษฐกิจ

เศรษฐกิจเวลานี้ มาถึงขั้นที่ทําใหการบริโภคเปนการสนองความตองการของผูผลิต อันนี้กลายเปน ลักษณะที่เดนขึ้นมา ตามหลักธรรมดานั้น การผลิตยอมจะสนองความตองการของผูบริโภค คือ ผูบริโภคตองการกินใชอะไร ผูผลิตก็ทําการผลิตของกินของใชใหสนองความตองการของผูบริโภค ใหดีที่สุด แตปจจุบันนี้ในยุคธุรกิจเปนใหญ เศรษฐกิจไดกาวมาถึงขั้นที่วา ผูผลิตสามารถใชวิธีการ ตาง ๆ เชน การโฆษณาสินคากระตุนเราความตองการ ตลอดจนปนคานิยมของผูบริโภค ใหเกิด ความตองการหรือเกิดความตื่นเตนที่จะซื้อสินคาที่ตนผลิตหรือคิดจะผลิต ถาผูบริโภคไมรูเทาทัน หรือไมใชปญญา ก็พลานไปตามการปลุกเราของผูผลิต กลายเปนเหยื่อหรือเปนทาสของระบบ แขงขันชวงชิงผลประโยชน

(2)

(พระธรรมปฎก(ประยุทธ ปยุตฺโต), ธุรกิจฝาวิกฤติ. พิมพครั้งที่ 2,กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม, 2544, หนา 24)

4. ปญญา : ฐานของประเทศมหาอํานาจ

ประเทศที่เรามองเห็นวา มีกําลังเศรษฐกิจ อํานาจการเมือง และมีเทคโนโลยีสูงนั้น อํานาจที่แทจริง ก็ตองอยูที่ปญญานั่นแหละ คือ มีกําลังปญญาเปนฐานและเปนตัวชักเชิดคุมขบวนทั้งหมด ถาจะใหมี

กําลังปญญากันจริง ก็ตองเนนการศึกษาที่ถูกตองที่จะใหมีความเขมแข็งทางปญญากันจริงๆ ใหถึงขั้น เกิดเปนวัฒนธรรมทางปญญา

(พระธรรมปฎก(ประยุทธ ปยุตฺโต), ธุรกิจฝาวิกฤติ. พิมพครั้งที่ 2,กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม, 2544, หนา 21)

5. การลมสลายของลัทธิทุนนิยม ?

ลัทธิทุนนิยมกับลัทธิสังคมนิยม ที่มองเห็นกันโตงๆ วา เปนระบบสองอยางตางกัน ที่ขัดแยงกันอยาง ตรงขามนั้น วาที่จริงแลวก็รวมลงในวัตถุนิยมเปนอันหนึ่งอันเดียวกันทั้งสองอยางนั่นแหละ และทั้ง สองลัทธินั้นก็ลวนตั้งอยูบนฐานแหงแนวคิดแบบกาวราวแบงแยกทั้งสามดวยกันทั้งคู การลมสลาย ของลัทธิสังคมนิยมคอมมิวนิสต มิใชเปนเครื่องบงบอกวาลัทธิทุนนิยมจะเปนระบบที่ถูกตองดีงาม แตอยางใด ในทางตรงขาม มันกลับชี้นัยวา ในบรรดาลัทธิวัตถุนิยมที่ครอบงําโลก 2 แบบนั้น เมื่อ ความลมเหลวของลัทธิหนึ่งปรากฏออกมาแลว ความลมเหลวของอีกลัทธิหนึ่งก็เปนที่คาดหมายได

(พระธรรมปฎก(ประยุทธ ปยุตฺโต), พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ 21. พิมพครั้งที่ 15, กรุงเทพฯ : กลุมขันธ

หา, 2544, หนา 30)

6. การศึกษากับการพัฒนาประชาธิปไตย

การปกครองระบอบประชาธิปไตย จําเปนตองอาศัยการศึกษา เพื่อทําใหคนมีคุณภาพ เพราะคุณภาพ ของประชาธิปไตยขึ้นอยูกับคุณภาพของประชาชน

(พระธรรมปฎก(ประยุทธ ปยุตฺโต), กระบวนการเรียนรูเพื่อพัฒนาคนสูประชาธิปไตย. พิมพครั้งที่ 2,กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม, 2543, หนา 35)

7. การแกปญหาการศึกษาของสังคมไทย

การที่จะแกปญหาการศึกษาหรือจะแกปญหาสังคมไทยไดนั้น อาตมภาพถือหลักวา จะตองเขาถึง พื้นฐานของไทยและจะตองไลใหทันความคิดชีวิตสังคมฝรั่ง ตองทั้งสองอยางจึงจะสําเร็จ ในสวนที่

ตองไลหรือตองรูใหทันความคิดชีวิตสังคมอเมริกันนั้น เพราะเหตุวาเรากําลังเอาสังคมอเมริกันเปน แบบอยาง... สวนที่วาจะตองเขาถึงพื้นฐานของไทย ก็เพราะวาเราจะตองรูจักเนื้อตัวของเราเองและ ถิ่นที่เราเปนอยู

(พระราชวรมุนี(ประยุทธ ปยุตฺโต), มองอเมริกามาแกปญหาไทย. พิมพครั้งที่ 5,กรุงเทพฯ : บริษัท ดานสุท ธาการพิมพ จํากัด, 2528, หนา 57)

8. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกับจริยธรรม

(3)

...เมื่อขาดจริยธรรมเสียแลว ความเจริญกาวหนาของวิทยาศาสตรผานทางเทคโนโลยีแมแตที่เปน ประโยชนอยางยิ่ง ก็กลายเปนการเพิ่มชองทางแหงภัยอันตรายที่จะเขามาถึงตัวมนุษยใหมากขี้น จนเกิด ภาวะที่เหมือนกับวา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยียิ่งเจริญ ภัยอันตรายของมนุษยก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้นและ รายแรงยิ่งขึ้น หรืออาจถึงกับเกิดเปนความหมายใหมขึ้นมาวา ความเจริญกาวหนาของวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี คือ การเพิ่มภยันตรายแกโลกมนุษย

(พระเทพเวที(ประยุทธ ปยุตฺโต), พุทธศาสนาในฐานะเปนรากฐานของวิทยาศาสตร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2535, หนา 24)

9. วิกฤติที่แทของสังคมไทย

เวลานี้ประเทศไทยมีวิกฤติที่สําคัญยิ่งกวาวิกฤติเศรษฐกิจ ซึ่งเปนวิกฤติที่แทคือ วิกฤติคุณภาพคน หรือ วิกฤติในการพัฒนามนุษย อยาใหการสูญเสียทางเศรษฐกิจนั้น มาซอนดวยการสูญเสียทรัพยากรมนุษย

ไปอีก เดี๋ยวจะไมมีทุนที่จะไปฟนเศรษฐกิจนั้นขึ้นมา แตถาเราตั้งหลักใหดี เราเอาโอกาสนี้มาใชในการ พัฒนาคน เราก็จะไดและจะเปนการไดที่เปนแกนสารที่ยั่งยืนดีกวา

(พระธรรมปฎก(ประยุทธ ปยุตฺโต), เราจะกูแผนดินกันอยางไร?. พิมพครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ

บริษัท สหธรรมิก จํากัด, 2542, หนา 41) 10. สงครามและสันติภาพ

ความทะยานอยากไดผลประโยชน(ตัณหา) ความมักใหญปรารถนาอํานาจที่จะครอบงําจัดการผูอื่น (มานะ) หรือความใฝเสพอํานาจ และความยึดมั่นคิดแตจะยัดเยียดบังคับความเชื่อถือศาสนา ลัทธินิยม อุดมการณของตนแกผูอื่น (ทิฐิ) ยังคงเปนแรงจูงใจอยูเบื้องหลังพฤติกรรมที่เรียกวา เปนการสรางสรรค

ความเจริญกาวหนาของมนุษยทั้งหลาย พรอมกับที่เปนเหตุใหพวกเขาสูรบทําลายและกอสงครามกันใน อดีตฉันใด ปจจุบันก็ฉันนั้น การสรางความเจริญกาวหนาดวยแรงจูงใจใฝปรารถนาที่จะสรางสรรคสันติ

แกมวลมนุษย ยังคงเปนเพียงคํากลาวอางที่ยากจะหาตัวอยางการปฏิบัติที่เปนจริง

(พระธรรมปฎก(ประยุทธ ปยุตฺโต), “คํานําเสนอ” ใน.ฉัตรนคร องคสิงห. นางาซากิ : เสียงครวญแหงสันติ.

พิมพครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมติชน, 2542, หนา 14) 11. วิชาพื้นฐาน วิชาชีพ

ศิลปศาสตรหรือวิชาพื้นฐานเปนวิชาที่สรางบัณฑิต โดยพัฒนาคนใหมีความเปนมนุษยที่แทจริง สวนวิชาการอื่นๆ จําพวกวิชาเฉพาะและวิชาชีพเปนวิชาการที่สรางเครื่องมือหรือสรางอุปกรณใหแก

บัณฑิต เพื่อผูที่เปนบัณฑิตนั้น จะไดใชความเปนบัณฑิตของตนทําการสรางสรรคประโยชนสุขใก

เกิดขึ้นแกชีวิตและสังคมไดอยางแทจริง... ในการสอนวิชาศิลปศาสตรหรือวิชาพื้นฐานนี้ จึงมีคติ

อยางหนึ่งซึ่งคูเคียงกับการสอนวิชาเฉพาะวา “สอนวิชาชีพวิชาเฉพาะใหใชผูเชี่ยวชาญ แตจะสอน วิชาพื้นฐานตองใชนักปราชญ”

(พระธรรมปฎก(ประยุทธ ปยุตฺโต), ศิลปศาสตรเพื่อการศึกษาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2540, หนา 22,27)

(4)

12. ความสําเร็จของมนุษย

ความสําเร็จที่แทคืออะไร? ความสําเร็จของมนุษย เวลานี้คิดกันแควาฉันชนะในการแขงขัน ฉันได

ผลประโยชนสมประสงค นี่คือความสําเร็จของมนุษยจริงหรือ? ความสําเร็จแบบนี้ก็คือความสําเร็จใน การเบียดเบียนกันในหมูมนุษย ดวยการแยงชิงกันและทําลายกัน ความสําเร็จอยูแคนั้น มนุษยมองไมถึง วา ความสําเร็จ คือการที่ชีวิตนี้บรรลุความดีงาม เปนชีวิตที่สมบูรณ สังคมนี้รมเย็น มีสันติสุข โลกนี้อยู

ในสภาพที่ดี สภาพแวดลอมทุกอยางเรียบรอยนารื่นรมย นี่คือความสําเร็จที่แทจริง

(พระธรรมปฎก(ประยุทธ ปยุตฺโต), จะอยูอยางเปนเหยื่อหรือขึ้นเหนือไปนําเขา. พิมพครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ บริษัท สหธรรมิก จํากัด, 2543, หนา 13)

13. พอแมกับบทบาทในการแสดงโลกแกลูก

พอแมเปนผูแสดงโลกแกลูก เพราะลูกจะพบกับพอแมกอนใครอื่น พอลูกเกิดมา พอแมก็มีบาทบาทนี้

ทันที... พอแมเปนเพื่อนมนุษยคูแรกในโลกที่ลูกไดรูจัก พอเปนตัวแทนของผูชายทั้งหมด แมเปน ตัวแทนของผูหญิงทั้งโลก ทีนี้ พอพบผูชาย-ผูหญิงที่เปนตัวแทนของคนทั้งโลก ก็เปนคนที่มีความรัก มี

เมตตา จึงเปนการเริ่มตนดวยการสรางความรูสึกที่ดี นี่คือตัวแทนของมนุษยในโลก ซึ่งมีความสัมพันธ

ดวยความรูสึกที่ดีงามตอกัน มิใชจะมาพบกันก็จะฆาฟนห้ําหั่นกัน ตอนนี้ความรูสึกเริ่มแรกที่เจอกันก็คือ ไดเจอมนุษยที่ดีกอน ไดเห็นมนุษยที่มีคุณธรรม มีเมตตา มาเปนตัวแทนของมนุษย เปนการสราง ความรูสึกที่ดี พรอมจะเปนมิตรกับคนทั้งหลาย ตอจากนั้นก็เจอกับพี่นอง พอแมก็จะถายผานความรูสึก ใหพี่นองมีความรักตอกัน พอไปเจอเพื่อนมนุษย ความรูสึกฉันญาติก็จะนํามากอน อยางนอยก็มาดุล ไมใหเกิดความรูสึกเปนปฏิปกษ ไมใชเปนศัตรูกัน... แตปจจุบันนี้พอแมกําลังเสียบทบาทนี้ใหกับสื่อ ใหแกทีวี วิดีโอ คอมพิวเตอร อินเตอรเนตเขามาแทน ขณะนี้นาเปนหวงอยางที่เคยใชคําวา เวลานี้ พอ- แมถูกยึดครองดินแดนไปเสีย หมายความวา ครอบครัวเคยเปนดินแดนที่พอแมดูแล เปนผูปกครอง เปน ผูที่นําลูก แตเวลานี้พอแมสูญเสียอํานาจปกครองนี้ไป โดยที่วาบานและครอบครัวไดถูกสื่อ เชน ทีวี และ วิดีโอเขามายึดครองมาทําหนาที่แทนพอแมในการแสดงหรือนําเสนอโลกแกลูก

(พระธรรมปฎก(ประยุทธ ปยุตฺโต), ความสุขของครอบครัว คือสันติสุขของสังคม. พิมพครั้งที่ 13, กรุงเทพฯ : บริษัท พิมพสวย จํากัด, 2543, หนา 15-16)

14. ความรับผิดชอบตอสังคม

การรับผิดชอบตอสังคม ยอมรวมถึงความตระหนักในภาวะที่ตนเปนสวนหนึ่งของสังคมนั้น และการที่

ตนมีสวนรับผิดชอบในปญหาทั้งหลายของสังคมนั้นดวย การรับผิดชอบตอปญหานั้น ไมไดหมายเพียง การรับผิดชอบในการที่จะเปนผูแกปญหาเทานั้น การมองความรับผิดชอบเพียงในแงของการเปนผู

แกปญหานั้น เปนการพรางตนเองอยางสําคัญ เปนการแยกตัวออกไปตางหาก และยกตัวเปนผูกลาหาญ จากภายนอกที่จะมาแกปญหาใหแกผูอื่นในสังคม ความจริงความรับผิดชอบหมายถึง ความสํานึกถึงการ ที่ตนมีสวนรวมในการทําใหเกิดปญหานั้นดวย ไมโดยตรงก็โดยออมในปญหาทุกๆ อยางและในทุกๆ สวนของสังคม

(5)

(พระราชวรมุนี(ประยุทธ ปยุตฺโต), สถาบันสงฆกับสังคมไทย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2527, หนา 123)

Referensi

Dokumen terkait

คือ ภาระงานที่ท่านรับผิดชอบไม่ก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพร่างกายและจิตใจ เช่น เครียด ป่วยง่าย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.07 รองลงมา ปริมาณงานที่ท่านได้รับมอบหมายมีความเหมาะสมกับ ช่วงเวลาท