• Tidak ada hasil yang ditemukan

เหลียวหลังมองชายแดน

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "เหลียวหลังมองชายแดน"

Copied!
2
0
0

Teks penuh

(1)

เหลียวหล ังมองชายแดน

ในระยะเวลาที่ผ่านมาการสร ้างศักยภาพทางด ้านการค ้า เศรษฐกิจ การลงทุน เป็นสิ่งที่ทั่วโลกต่างแสวงหา ตลอดจน กิจกรรมชายแดนที่ดูเหมือนจะได ้รับการส่งเสริมและพัฒนา ให ้เข ้ากับการเชื่อมโยงศูนย์กลางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ความร่วมมือในระดับอนุภาคการค ้าและการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจ อันเป็นเสมือนช่องทางส่งออกและพัฒนาการ ลงทุนที่มีจำานวนเงินสูงลิบ

และหากมองถึงประเทศไทยซึ่งมีศักยภาพและข ้อได ้ เปรียบทางภูมิศาสตร์ พื้นที่เศรษฐกิจที่ครอบคลุมจากเหนือ จรดใต ้ ด ้านเหนือสู่พม่าและกับประเทศคู่ค ้าอย่างจีน และ ยุทธศาสตร์อนุภาคลุ่มแม่นำ้าโขง Greater Makong Sub - Region ( GMS ) สู่อีสานถึงลาวและกัมพูชา รวมทั้งภาค ใต ้กับประเทศมาเลเซียตามกรอบสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ จนถึง การนำาไปสู่การพัฒนาสู่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนและ ศูนย์กลางการท่องเที่ยวแห่งเอเชีย

แน่นอนว่าเมื่อเกิดความได ้เปรียบทั้งจากที่ตั้ง การ ค ้า การแลกเปลี่ยนจากผลผลิตด ้านเกษตร อุตสาหกรรม มูลค่ามหาศาล สู่การผลักดันควบคู่กับการท่องเที่ยว กับการ พัฒนาเพื่อรองรับการขยายตัวจากจุดผ่านแดนถาวรร่วมๆ ยี่สิบกว่าจุด จนบางแห่งแทบจะกล ับกลายเป็นเมืองหน้า ด่านที่สำาค ัญอย่างยิ่งยวด ซึ่งเพียงพอที่จะทำาให้คุณค่า ทางวิถีชีวิตและว ัฒนธรรมจากเมืองชายแดนสูญสลาย ไปก ับการแลกเปลี่ยนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

เมื่อมองย ้อนสู่อดีต การรับรู ้ในเชิงวัฒนธรรมและเชิง นิเวศ รวมถึงการเสาะแสวงหาอารยธรรมดั้งเดิมกับ

ภูมิประเทศอันแสดงถึงความแตกต่างนำามาสู่การเข ้าถึงและ การท่องเที่ยวแบบมวลชน ( Mass Tourism ) จากความ

Walking in Cities, หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ, 7 กรกฎาคม 2552

(2)

ใฝ่ฝันถึงดินแดนแปลกตา บ ้านเมืองแปลกถิ่น กลับกลายสู่สิ่ง ที่ที่ขาดหาย และหาได ้อย่างไม่อยากเย็นจากทั่วทุกหนแห่ง

อาญชกรรม ขาดความม ั่นคงปลอดภ ัย แรงงาน ต่างด้าว ยาบ้า ยาเสพติด คือภาพล ักษณ์ที่คุ้นชินของ เมืองชายแดน

การขยายตัวของพื้นที่ในฟากฝั่งไทยอันเกิดจาก

นโยบายเปิด - ด่านชายแดนในบางแห่ง สร ้างกิจกรรมที่ก่อ ให ้เกิดการผสานวัฒนธรรมเชิงพาณิชยกรรม นั่นหมายถึงการ ล ้นทะลักของสินค ้า การขยายตัวของชุมชน การปรับปรุงถนน ระบบขนส่งสาธารณะ การเติบโตของที่พัก พื้นที่การค ้าที่

กระจายตัวด ้วยรูปแบบทั้งถาวรและชั่วคราว พื้นที่ขายกับที่

จอดรถมากมาย อันรวมไปถึงการรุกลำ้าของพื้นที่พาณิชยกร รมกับพื้นที่โบราณสถาน เรื่องราวทางประว ัติศาสตร์และ ความเป็นมาถูกบดบ ัง ท ับถมจากคาราวานสินค้าราวก ับ จะถูกรื้อทิ้ง

การบุกรุกพื้นที่ทั้งบนบกและในนำ้า ท่าเรือท่าข ้ามที่ระ เกะระกะ ด ้วยขาดการดำาเนินการอย่างมีระเบียบแบบแผน รวม ไปถึงปัญหาขยะและมลภาวะที่ก่อตัวขึ้นอย่างมากมายจนยาก ต่อการแก ้ไข

การส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ขาดการคำานึงถึงความรู ้ทาง ประวัติศาสตร์หรือแม ้แต่ขนบธรรมเนียมที่ดีงาม สิ่งดีๆ

มากมายกลับกลายเป็นเรื่องที่ต ้องค ้นหา วิถีชีวิต คุณค่าและ ความงาม การสร ้างสรรค์ศิลปะและสถาปัตยกรรม และอาจ ผ่านตาเพียงเฉพาะบางกลุ่มชน จากการรื้อค ้น เสาะแสวงหา ผ่านสู่งานวิจัยและองค์ความรู ้ที่อยู่คู่กับงานวิชาการ ศิลปิน นักถ่ายภาพ นักคิด นักเขียนที่อาจต ้องใช ้ระยะเวลาและระยะ ทางเพื่อการสืบเสาะรากเหง ้าที่ยังคงซ่อนตัวอยู่ และอยู่ลึก มากกว่าสิ่งที่ถูกฉาบหน ้าด ้วยมนต์ขลังแห่งทุนนิยม

Walking in Cities, หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ, 7 กรกฎาคม 2552

(3)

การสะท ้อนถึงมุมมองแห่งการพัฒนา หันมามองกรอบ บริบทอย่างหลากมิติ การปรับเปลี่ยนภูมิทัศน์ อันแสดงถึง คุณค่าที่มากกว่าการค ้าขาย หากครอบคลุมไปถึงการดูแล และรักษา เร่งฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมอันดี สร ้างมโนสำานึกต่อ สิทธิและการหวงแหน อันนำาไปสู่กลไกกับการขับเคลื่อน อย่างยั่งยืน เพราะนั่นอาจไม่ใช่เพียงแค่ประเทศใดประเทศ หนึ่ง แต่คือสิ่งที่ได ้รับกันทั้งสองฝ่าย

นอกเหนือไปจากคุณค่าต่อธรรมชาติและ

ประว ัติศาสตร์ แต่ย ังหมายรวมถึงส ัมพ ันธ์ภาพอ ันดี การ พึ่งพาอาศ ัยยอมร ับซึ่งก ันและก ัน กล ับคืนสู่เสน่ห์ของ ความแตกต่าง หากไม่เช่นน ั้นกุญแจสำาค ัญต่ออุตสา กรรมและการท่องเที่ยวคงถูกบดบ ังและทำาลายจนไม่

เหลืออะไรให้ชื่นชม

Walking in Cities, หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ, 7 กรกฎาคม 2552

Referensi

Dokumen terkait

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปีที 11 ฉบับที 1 เดือนสิงหาคม 2559 – มกราคม 2560 การศึกษาผลสัมฤทธิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมของ

2551 ประวัติ ความเป็นมา ข้อดีและข้อเสียของการแก้ไขเพื่อค้นหาแนวทาง แก้ไขและพัฒนากฎหมายคุ้มครองแรงงานให้สอดคล้องกับ เศรษฐกิจ สังคม การเมืองภายในประเทศและหลักสากลตาม