• Tidak ada hasil yang ditemukan

แนวคิดว่าด้วยความขัดแย้ง

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "แนวคิดว่าด้วยความขัดแย้ง"

Copied!
3
0
0

Teks penuh

(1)

แนวคิดวาดวยความขัดแยง

หากไทยนั้นไมปรองดอง จะรองเพลงชาติใหใครฟง

ผศ.ชมพู โกติรัมย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ขณะนี้คนไทยมีความอึดอัดไมสบายใจเนื่องจากความขัดแยงทางสังคมยังมีตอเนื่อง หากจะกลาววา ประเทศไทยเรากําลังอยูในสถานการณที้ตองเฝาระวังจากความขัดแยงระหวางกลุมตางๆ ก็คงไมเกินความเปนจริง มากนัก สถานการณดังกลาวมีแนวโนมที่จะขยายวงกวางในระดับประเทศ โดยมีจํานวนกลุมคน ระยะเวลา เปนตัว แปร โดยเฉพาะชวงปลายเดือนเมษายจนถึงพฤษภาคมไดถูกคาดการณวาเปนจุดหัวเลี้ยวหัวตอของประเทศไทย ทั้งนี้เพราะชนวนความขัดแยงตางๆที่เรียกวาคลื่นใตน้ําบาง เหนือน้ําบางโดยที่กลุมเหลานั้นพรอมแปรสภาพเปน กระแสหลากกระหน่ําเพื่อความไมสงบเรียบรอย ความไมเปนธรรม และความเชื่อมั่นตอคมช.และรัฐบาล หาก เปนเชนนั้นความเสียหายแกประเทศชาติเปนเดิมพันยากที่จะหลีกเลี่ยง เปนสถานการณของประเทศที่ทุกฝายพึง ตระหนักในทุกยางกาว “โปรดเถิดเพื่อนไทยอยาไดแยกเขี้ยวใสกัน เห็นไหมพระจันทรดูสิพระจันทรยังรอง น้ําตาของไทยไหลนองหากไทยนั้นไมปรองดองจะรองเพลงชาติอะไร” จากทอนหนึ่งของบทเพลงพระจันทร

รองไห ที่สะทอนถึงความขัดแยงของพี่นองคนไทยไดนํามาซึ่งความสูญเสียแกประเทศชาติซึ่งเปนมาตุภูมิอันเปนที่

รักของทุกคน แตผลลัพทของความขัดแยงของบทเพลงนั้นไดนํามาซึ่งความสูญเสียทั้งเลือดเนื้อของคนไทยดวยกัน และจากบทเพลงนี้สามารถสะทอนสถานการณของประเทศไทยเราไดเปนอยางดี ทั้งนี้เพราะวาสังคมไทยกําลังอยู

ในบรรยากาศแหงความขัดแยง และมีแนวโนมที่จะขยายวงกวางในระดับประเทศ โดยมีจํานวนกลุมคน ระยะเวลา เปนตัวแปร ความขัดแยงที่นํามาซึ่งความเสียหายแกประเทศชาติเปนเดิมพันยากที่จะหลีกเลี่ยง เปนสถานการณ

ของประเทศที่ทุกฝายพึงตระหนักในทุกยางกาว หากศึกษาความขัดแยงจะพบวา ความขัดแยงไดกอใหเกิดผลทั้ง ดานบวกและดานลบดวยกันทั้งสองดานเพราะสังคมคือการดํารงอยูซึ่งความขัดแยงอยูในตัว ไมมีสังคมใดที่จะ ดํารงไวซึ่งความสามัคคีอยางสมบูรณแบบทั้งนี้เนื่องจากในสังคมหนึ่งๆ ไดรวมเอากลุมคนตางๆ เขาดวยกัน ซี่งแต

ละกลุมนั้นมักมีลักษณะเฉพาะ มีเปาหมาย (ผลประโยชน) ตางกัน ความขัดแยงเปนสวนหนึ่งของสังคมมนุษย

ฉะนั้นศาสนาก็ดี กลไกของรัฐก็ดี คือผลิตผลที่มนุษยสถาปนาขึ้นเพื่อมาบริหารความขัดแยงแหงสังคมใหอยูใน ลักษณะที่เอื้อประโยชน

Lewis A Coser

นักสังคมวิทยามีความเห็นวาความขัดแยงเปนตัวสนับสนุนใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงในสังคม หากสมาชิกเกิดความไมพอใจในระดับไมอาจจะรับไดตอสังคมที่เขาอยู ประเด็นที่นา ศึกษาคือ ความขัดแยงนั้นพัฒนาจากกลุมผลประโยชนซึ่งตั้งอยูบนความรูสึกชอบ ไมชอบเพราะขัดกับความ ตองการของตนหรือไม หรือวาความขัดแยงอันนั้นไดขัดกับบรรทัดฐานแหงสังคมซึ่งสัมพันธกับความมั่นคงหรือ ความอยูรอดของคนสวนใหญที่มีความเปนสากลมากกวา ความเปนสากลที่เกี่ยวของกับกลุมคนหลายกลุมนี้ หาก ไมไดรับการจัดการดวยดีจากรัฐ พรอมพัฒนาเปนความขัดแยงทางสังคม มิใชกลุมคน ความขัดแยงทางสังคมที่มี

ผลผลิตตางๆ ในรูปของการชุมนุมบาง การวิพากษวิจารณตามสื่อตางๆบาง หรือแมแตการขับไลหากมีการระบาด ทางอารมณในวงกวาง เปนผลผลิตในลักษณะกระจกสะทอนเงา( Lookig glass)ถึงตัวตนของสังคม-รัฐที่เปนอยู

ในหวงเวลานั้น

ความขัดแยงทางสังคมควรที่จะศึกษาจากกรอบความคิดหลายกรอบดวยกัน วาดวยความคิดเกี่ยวกับสังคมที่

แยกออกจากรัฐ เปนความคิดกอตัวขึ้นหลังจากการปฎิวัติอุตสาหกรรมในยุโรปเปนกระบวนการทําลายระบบสังคม

(2)

ดั้งเดิมที่มีการยอมรับในความชอบธรรมของผูปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราช โดยชนชั้นนายทุน(กุมฎมพี)ที่มี

กําลัง(ทางการเงิน)กาวสูอํานาจแทน เมื่อมีการแยกออกจากกันระหวางรัฐ กับสังคม จึงเกิดปญหาการเชื่อม ระหวางรัฐกับสังคมแยกได 3 ทัศนะกลาวคือ

1.สังคม คือสิ่งที่ถูกปกครอง 2.การเมือง คือผลผลิตของสังคม

3.สังคม และการปกครองเปนอิสระซึ่งกันและกันในบางสวนและพึ่งพาอาศัยกันในบางสวน

จากแนวคิดที่ 1 สังคมคือสิ่งที่ถูกปกครอง ตั้งอยูบนพื้นฐานความคิด คนในสังคมมีความสนใจทางการเมืองนอย มวลชนถูกกีดกันออกจากการมีสวนรวมทางการเมือง และจะไดรับความสนใจจากรัฐเพียงในฐานะผูเสียภาษี

เกณฑทหาร แนวคิดนี้เริ่มสลายตัวลงเมื่อการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนเพิ่มขึ้น ในทางกลับกันหากการ มีสวนรวมทางการเมืองนอย สังคมคือสิ่งที่ถูกปกครองยังดํารงอยูความขัดแยงก็ไมอาจขจัดออกไปตามวิถีทางการมี

สวนรวม(รวมคิดรวมทํา)

แนวคิดที่ 2 การเมืองคือผลผลิตทางสังคม แนวคิดนี้ Montesquieu เสนอวา ความเปนมนุษยที่มีศักดิ์ศรี

อยางเทาเทียมกันคือการที่ไมถูกครอบงําโดยอภิชน การเมืองควรตอบสนองและแสวงหาวิธีการอยางมีเหตุผลเพื่อ นําทางสามัญชนสูผลประโยชนรวมกันอยางสันติ แนวคิดนี้สะทอนถึงการรับฟงความคิดเห็นอันสะทอนจากสังคม วา สังคมไดรวมกันเพาะเมล็ดพันธุทางการเมืองอยางไร

แนวคิดที่ 3 สังคมและการปกครอง อิสระในบางสวนและพึ่งพากันในบางสวน สะทอนถึงความแตกตางระหวาง ศีลธรรม (ศาสนา) เปนสิ่งอาจมีไดในสังคม ตามลัทธิเสรีนิยมรัฐเกิดจากการเขารวมกันของกลุมตางๆ แลวกลุม ตางๆเหลานั้นตางยอมรับในอํานาจอันชอบธรรมเดียวกัน โดยไมอยูภายใตอํานาจอื่น การยอมรับในอํานาจนั้นทํา ใหรัฐมีอํานาจ การรวมกลุมเปนเสรีภาพสวนบุคคลรัฐจะเขามาของเกียวดวยเพียงเพื่อปกปองรักษาเสรีภาพสวน บุคคลไว โดยที่กลุมตางๆในสังคม เปนตัวกําหนดการปกครองเพื่อมาจํากัดขอบเขตความอยุติธรรมที่เกิดขึ้นใน สังคมนั้น และรัฐเองจะตองไดรับการยอมรับจากกลุมตางๆในสังคม หากสะทอนยอนกลับมาดูกลุมขนาดใหญ

(Secondary groups) ที่มีชนวนความขัดแยงอยูในสังคมไทยเราในขณะนี้นั้น เปนเรื่องที่ตองทบทวนวา อะไร หรือสวนไหนตองพึงพาและสวนไหนตองอิสระระหวางสังคมกับการปกครอง เพราะหากแยกศูนยรวมทางการ เมืองมาอยูที่อํานาจ แทนที่จะเปนรัฐ เมื่อเปนเชนนี้เทากับตอกย้ํากระบวนการทางการเมืองก็คือการตอสูระหวาง กลุมทางการเมือง หรือมีนัยทางการเมือง เพื่อเพิ่มพูนอํานาจของกลุมตนเพื่อเชื่อมสะพานไปยังกลุมตางๆที่มีศูนย

รวมผลประโยชนอยูเบื้องหลังมาขับเคลื่อนการกระทําโดยความสมัครใจ ในสวนของรัฐภายใตกรอบความคิดศูนย

รวมทางการเมืองในลักษณะนี้การแจกจายผลประโยชนขึ้นอยูกับวาใครมีอํานาจเหนือกวา การศึกษาแนวนี้ ใช

แนวคิดเรื่องผลประโยชน และการชวงชิงผลประโยชน ภายใตกรอบสังคมและการปกครองจะพบวาไมสามารถ หลุดจากปมความขัดแยงไดตราบเทาที่การพึ่งพาประชาชนเพียงวาทะ ทําเพื่อประชาชน แตประชาชนมิอาจพึ่งพิง ไดภาพสะทอนจากหลายเหตุการณ ที่เสียงรองขอความชวยเหลือจากรัฐยังกองอยูกรณีเหตุการณภาคใตเปนตน ยิ่งกวานั้นความไมอิสระในการแสดงสิทธิ์และเสียงของประชาชนซึ่งเปนเรื่องที่พึ่งพากันเปนยิ่งนัก แทนที่จะใช

แนวคิด กลไกหนาที่ของสังคม (functions) แมมีความแตกตางกันตามกลไกแตสามารถประสานกลมกลืนกันได

หากใชแนวคิด functionsทางสังคม ทุกกลุมจะใชกิจกรรมทางการเมือง ที่ไมเปนไปเพื่อทาทายอํานาจรัฐ หรือ เปดแผลความขัดแยงใหแตกหัก หากแตวามุงเนนปญหาทางทฤษฎีและภาคปฎิบัติในสวนที่ตางกันของกลุมทาง สังคมตามบทบาท หากแตวาสัมพันธกันในประเด็นหลักคือขับเคลื่อนสังคมไปดวยกัน ซึ่งจะตองศึกษาการเมือง ในสองมิติเพื่อฉายภาพความขัดแยงดังกลาวคือ

(3)

1.การเมืองในตัวของมันเองคือ ชวงชิงผลประโยชนโดยกลุมตางๆภายใตกฎกติกา หรือระบบใด ระบบหนึ่ง และการแสวงหาผลลัพทที่ตอรองกันได (Negotiable ends)

2.การเมืองในลักษณะพยายามเปลี่ยนแปลงระบบสังคมทั้งหมด หรือการใฝหาผลลัพทที่ตอรองกันไมได

(Non- tiable ends)

มิติที่หนึ่งเปนวิธีการแสวงหาขอยุติความขัดแยงทางการเมืองดวยวิธีการทางการเมืองเอง เปนวิธีการที่คนยอม ปรับตัวเขาหาระบบหรือเคารพในกติกา สวนมิติที่สองไมสามารถตกลงกันไดจึงหันไปจัดการที่ระบบเพื่อใชระบบ มาจัดการที่คน(สังคม)แตทั้งสองอยางนี้เปนดังสองดานของเหรียญเดียวกัน แตผลลัพทแตกตางกันเปนยิ่งนัก

Referensi

Dokumen terkait

แนวคิดว่าด้วยส ัญญะทาง ส ังคมสะท้อนจุดยืน ผศ.ชมพู โกติรัมย์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ประชาชนมีความเกี่ยวข ้องกับการเมืองน ้อยบ ้างมากบ ้าง ไม่ โดยตรงก็โดยอ ้อมและมีผลได ้ผลเสียในฐานะผู

สิทธิ หน ้าที่ เสรีภาพของคนไทยในรัฐธรรมนูญ ผศ.ชมพู โกติรัมย์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม บนส ้นทางการพัฒนาประชาธิปไตยของไทยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา เป็นเส ้นทางที่ประชาชนต ้องต่อสู ้ บางครั้งต