• Tidak ada hasil yang ditemukan

แนวทางการเสริมสร างประชาธิปไตยในโรงเรียนพร - ThaiJo

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "แนวทางการเสริมสร างประชาธิปไตยในโรงเรียนพร - ThaiJo"

Copied!
16
0
0

Teks penuh

(1)

แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม

ผูวิจัย พระปลัดสมชาติ ศิริปรีชารักษ1 อาจารยที่ปรึกษา อาจารย ดร.จุไรรัตน จุลจักรวัฒน2

อาจารย ดร.สุชาติ ใจภักดี3

บทคัดยอ

การศึกษาคนควาในครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาปญหาการเสริมสรางประชาธิปไตย ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม เพื่อศึกษาการดำรงตนแบบวิถี

ประชาธิปไตยของนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม และ เพื่อเสนอแนะแนวทางการเสริมสรางประชาธิปไตยในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม โดยเก็บรวบรวมขอมูลจากประชากรและกลุมตัวอยาง จำนวน 3 กลุม ไดแก

ผูบริหารสถานศึกษา ครู/บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษาในจังหวัดเชียงใหม จำนวน 28 แหง จำนวนกลุมตัวอยาง 645 รูป/คน

ผูศึกษาใชโปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอรในการประมวลผลและวิเคราะหขอมูล สถิติ

ที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบวา

1. ปญหาการเสริมสรางประชาธิปไตยในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม แบงเปน 4 ดาน ไดแก ปญหาดานบุคลากร ปญหาดานงบประมาณ ปญหาดาน วัสดุอุปกรณและเครื่องอำนวยความสะดวก และปญหาดานการบริหารจัดการ

2. การดำรงตนแบบวิถีประชาธิปไตยของนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม อยูในระดับปานกลาง

1 นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม

2 อาจารยที่ปรึกษาหลัก

3 อาจารยที่ปรึกษารวม

(2)

3. แนวทางการเสริมสรางประชาธิปไตยในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม แบงเปน 4 ดานหลัก ไดแก การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน สงเสริม การมีสวนรวมในการดำเนินกิจกรรม/โครงการภายในสถานศึกษา สนับสนุนความรวมมือจาก ผูมีสวนเกี่ยวของและหนวยงานภายนอก และการสงเสริมความรูความเขาใจใหแกผูมีสวนเกี่ยวของ คำสำคัญ : การเสริมสรางประชาธิปไตย, โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา

ABSTRACT

The purposes of this research was to study the problem of promoting democracy, student’s democracy style and the guidelines for promoting democracy in Buddhist Academic Schools in Chiang Mai province. Data collected from 645 administrator, teacher, education officer and student in 28 Buddhist Academic Schools in Chiang Mai province.

Statistical analysis ; frequency, percentage, mean and standard deviation. The research results as follows ;

1. The problem of promoting democracy in Buddhist Academic Schools in Chiang Mai province had 4 items as follows ; officer, budget, material and management.

2. Student’s democracy in Buddhist Academic Schools at a medium level.

3. The guidelines for promoting democracy in Buddhist academic schools had 4 items as follows ; development of teaching and learning process, use the participation in every activities, support the cooperation from person and other organization and provide the knowledge and understanding for everyone.

Keywords : Promoting democracy, Buddhist Academic Schools

(3)

บทนำ

ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการ ปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 โดยคณะราษฎร ซึ่งประกอบดวยขาราชการ สายทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน จำนวน 99 คน ภายใตการนำของพันเอกพระยาพหล พลพยุหเสนา นาวาตรีหลวงสินธุสงคราม และ อำมาตยตรีหลวงประดิษฐ มนูธรรม (คณิน บุญสุวรรณ, 2551 : 13) รวมกันยึดอำนาจ การปกครองประเทศ นับเปนการเปลี่ยนแปลง ครั้งสำคัญที่สุดในการเมืองการปกครอง ของไทย เพราะเปนการเปลี่ยนจากระบอบการ ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปน ระบอบการปกครองโดยรัฐธรรมนูญ ซึ่งมี

เปาหมายที่จะสถาปนาระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข เปนหลักในการ ปกครอง เมื่อคณะราษฎรทำการเปลี่ยนแปลง การปกครองไดสำเร็จแลว ก็มีการประกาศใช

พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดิน สยามชั่วคราว พ.ศ.2475 เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ.2475 ซึ่งอาจถือไดวาเปนรัฐธรรมนูญ ฉบับแรก และเปนกฎหมายที่ใชชั่วคราวหลังจากนั้น ประเทศไทยก็ปกครองโดยมีรัฐธรรมนูญ มาโดยตลอด แมจะมีการยุบเลิกรัฐธรรมนูญบาง ก็เปนการชั่วคราว ในที่สุดก็จะตองมีรัฐธรรมนูญ ฉบับใหมขึ้นมาทดแทนเสมอไป การปกครอง ของไทยนั้นพยายามที่จะยึดหลักการปกครอง โดยกฎหมาย คือ ใหมีบทบัญญัติ กฎเกณฑ

กติกาที่แนนอนเปนแนวทางในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย ประเทศไทยมีการประกาศ ใชรัฐธรรมนูญและธรรมนูญการปกครอง จนกระทั่งถึงฉบับปจจุบันที่ประกาศใชเมื่อวันที่

24 มิถุนายน พ.ศ.2550 รวมแลว 18 ฉบับ ทุกฉบับ จะประกาศเจตนารมณที่จะสรางการปกครอง

แบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปน ประมุขขึ้น แมบทบัญญัติของธรรมนูญแตละ ฉบับจะเปนประชาธิปไตยไมสมบูรณตามหลัก สากล เชน ในทุกฉบับจะตองมีสมาชิกรัฐสภา ประเภทแตงตั้งเขามาทำหนาที่เปนผูแทน ปวงชนชาวไทยรวมกับสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งอยูเสมอ รัฐสภา บางสมัยมีสมาชิกที่มาจากการแตงตั้งทั้งหมด เปนตน ก็เปนเพราะเหตุผลและความจำเปน บางประการตามสถานการณในขณะนั้น การ พัฒนาประชาธิปไตยของประเทศที่ยังไมบรรลุผล ตามเจตนารมณ ก็เนื่องจากประชาชนสวนใหญ

ไมเขาใจอยางชัดเจนในสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หนาที่ความรับผิดชอบ และการ มีสวนรวมในฐานะพลเมืองของประเทศ และ สาเหตุสำคัญนั้นเกิดจากการที่ประชาชนขาด ความรูและความเขาใจอยางแทจริงในเนื้อหา สาระและแกนแทของประชาธิปไตย ความ ไมเขาใจในแนวคิดของ “ประชาธิปไตย” หรือ ไมเขาใจวาประชาธิปไตยแทจริงคืออะไร และ มีคุณคาเพียงไร ทำใหประชาชนไมตระหนัก ในความสำคัญของการมีสวนรวมในการบริหาร ดูแลประเทศชาติ การพัฒนาประชาธิปไตย ของไทยจึงเปนไปอยางลาชา และบางครั้ง ไมเปนไปตามเจตนารมณที่แทจริง (สำนักงาน คณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2552 : 1-2)

การพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศ จะบรรลุผลตามเจตนารมณจึงควรมีการ เสริมสรางประชาธิปไตยสูเด็ก เยาวชน โดยการ สรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับเนื้อหาสาระ สำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญ และหนาที่ของพลเมืองที่ดี การ สงเสริมบทบาทสถาบันการศึกษาใหนักเรียน มีความรู ความเขาใจในบทบาทของตนตามการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย คือ การให

(4)

การศึกษาทั้งในดานความรูและการปฏิบัติตน เพราะการศึกษามีบทบาทสำคัญในการปลูกฝง ทัศนคติ สรางคานิยม กอใหเกิดความรู

ความคิดเห็น ความเชื่อตางๆ แกผูเรียน จึงจำเปน อยางยิ่งที่สถานศึกษาตองสนับสนุนและสงเสริม บทบาทของสภานักเรียนในการเผยแพรความรู

เรื่องประชาธิปไตย ซึ่งสอดคลองกับความเห็น ของคณะกรรมการการเลือกตั้งที่วา ควรจะตอง พัฒนาประชาธิปไตยใหกับเด็กและเยาวชนที่

เปนกลุมเปาหมายสำคัญและเปนทรัพยากร อันมีคุณคาของประเทศ ซึ่งการพัฒนากลุม เปาหมายดังกลาวจะมีผลเชื่อมโยงไปยังภาคสวน ตางๆ ของสังคมดวย

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

พุทธศักราช 2542 แกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 ไดใหความหมายของการศึกษาวา เปนกระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงาม ของบุคคลและสังคมโดยการถายทอดความรู

การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทาง วิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการ จัดสภาพแวดลอม สังคมการเรียนรู และปจจัย เกื้อหนุนใหบุคคลเรียนรูอยางตอเนื่องตลอด ชีวิต และมาตรา 7 ที่กลาววา ในกระบวนการ เรียนรูตองมุงปลูกฝงจิตสำนึกที่ถูกตองเกี่ยวกับ การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รูจักรักษา และสงเสริมสิทธิ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

มีความภูมิใจในความเปนไทย รูจักรักษาผล ประโยชนสวนรวมและของประเทศ รวมทั้งใหมี

การสงเสริมศาสนาศิลปวัฒนธรรมของชาติ

การกีฬา ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และความรูอันเปนสากล ตลอดจนอนุรักษ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีความ

สามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ใฝรู และเรียนรูดวย ตนเองอยางตอเนื่อง การจัดการศึกษามุงเนน ความสำคัญทั้งดานความรู ความคิด ความ สามารถ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และ ความรับผิดชอบตอสังคม เพื่อพัฒนาคนใหมี

ความสมดุล โดยยึดหลักผูเรียนสำคัญที่สุด ทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเอง ได สงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ใหความสำคัญตอ ความรูเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธของ ตนเองกับสังคม ไดแก ครอบครัว ชุมชน และ สังคมโลก รวมทั้งความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตร

ความเปนมาของสังคมไทย และระบบการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข นอกจากนั้น ในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 4 หนาที่ชาวไทย มาตรา 70 ระบุวา บุคคลมีหนาที่พิทักษรักษาไวซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข ตามรัฐธรรมนูญนี้

การศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษานั้น เปนการศึกษารูปแบบหนึ่งของการ ศึกษาคณะสงฆ เปนการศึกษาที่รัฐกำหนดใหมี

ขั้นตอนตามความประสงคของคณะสงฆ (กอง พุทธศาสนศึกษา, 2549 : 1-2) สมเด็จพระอริย- วงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา- สังฆปริณายก (จวน อุฏฐายีมหาเถระ ปรารภ) วา

“การศึกษาทางโลกเจริญกาวหนามากขึ้นตามความ เปลี่ยนแปลงของโลก การศึกษาพระปริยัติ

ก็จำเปนตองอนุวัตไปตามความเปลี่ยนแปลง ของโลกบาง จึงเห็นสมควรที่จะมีหลักสูตร การเรียนพระปริยัติธรรมเพิ่มขึ้นอีกแผนกหนึ่ง คือ หลักสูตรพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา

(5)

ทั้งนี้เพื่อใหผูศึกษาไดมีโอกาสบำเพ็ญตนใหเปน ประโยชนไดทั้งทางโลกและทางธรรมควบคู

กันไป” กระทรวงศึกษาธิการจึงไดประกาศ ใชระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาขึ้น เมื่อ 20 กรกฎาคม 2514 และระเบียบกระทรวง ศึกษาธิการ วาดวยโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา พ.ศ.2535 ปจจุบันใชระเบียบ สำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ วาดวย โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา พ.ศ.2546 โดยมีวัตถุประสงคที่จะใหการศึกษา ในโรงเรียนดังกลาวเปนประโยชนตอฝาย ศาสนจักรและฝายบานเมือง กลาวคือ ทางฝาย ศาสนจักรก็จะไดศาสนทายาทที่ดี มีความรูความ เขาใจในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาอยาง แทจริง เปนผูประพฤติดี ปฏิบัติชอบ ดำรงอยู

ในสมณธรรม สมควรแกภาวะสามารถธำรง และสืบตอพระพุทธศาสนาใหเจริญสถาพรตอไป และถาพระภิกษุสามเณรเหลานี้ลาสิกขาบท ไปแลว ก็สามารถเขาศึกษาตอในสถานศึกษา ของรัฐไดหรือเขารับราชการสรางประโยชน

ใหกาวหนาใหแกตนเองและบานเมืองสืบตอไป โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษา ซึ่งเปนสถานศึกษาที่บริการจัดการศึกษา ใหกับพระภิกษุสามเณร ซึ่งเปนทรัพยากรมนุษย

ที่จะเปนกำลังสำคัญในการจะรวมพัฒนา ประเทศชาติตอไป การพัฒนายกระดับคุณภาพ การศึกษา สงเสริมสนับสนุนองคกรศาสนา ที่เปนสถาบันหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการจะ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของคนในประเทศชาติ

พระภิกษุสามเณรเหลานี้จึงเปนศาสนทายาท ที่จำเปนตองไดรับการอบรม ปลูกฝงคานิยม ที่ถูกตองเพื่อที่จะไดเปนกำลังหลักในการพัฒนา สังคมแหงคุณธรรม และเปนการสรางเสริม บทบาทหนาที่ของพลเมืองที่ดี ตามระบอบ

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข สำหรับพระภิกษุ สามเณร ทั้งประเทศ มีจำนวน 361,524 รูป (ศูนยเทคโนโลยี

สารสนเทศ สำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ

ขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553) ภายใตการ กำกับดูแลของสำนักงานพระพุทธศาสนา แหงชาติ ในจังหวัดเชียงใหม มีพระภิกษุ สามเณร ทั้งสิ้นจำนวน 17,445 รูปสำหรับพระภิกษุ

สามเณร ที่อยูในสถานศึกษามีทั้งสิ้น 5,072 รูป ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 3,380 รูป ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย 1,692 รูป และมีโรงเรียน พระปริยัติธรรมจำนวน 28 แหง ผูบริหาร บุคลากร ทางการศึกษา ครู/เจาหนาที่ 403 รูป/คน (สำนักงานกลุมโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา กลุมที่ 5 ขอมูล ณ 10 มิถุนายน 2554) จึงจำเปนอยางยิ่งที่ตองมีการเสริมสราง ทำความเขาใจ ตามสิทธิและหนาที่พลเมืองที่ดี

ตามระบอบประชาธิปไตย และเปนการชวย เผยแพรความรูเรื่องประชาธิปไตยตามบทบาท หนาที่ของพระสงฆที่ตองอบรมสั่งสอน ปลูกฝง คุณธรรม จริยธรรม คานิยมตอไป การจัด กิจกรรมเพื่อสงเสริมประชาธิปไตย และการ จัดบรรยากาศ และสภาพแวดลอมที่เปน ประชาธิปไตยแตการดำเนินการรณรงคและ สงเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียนยังไมปรากฏผล เปนรูปธรรม และเปนไปอยางตอเนื่องมากนัก ซึ่ง (กรมสามัญศึกษา, 2536 : 32) ไดสรุปสาเหตุ

ของปญหาและอุปสรรคไววา “นอกเหนือจาก หลักสูตรที่ใชในโรงเรียนมีเนื้อหามากจนครูไมมี

เวลาทำกิจกรรมใดๆ ที่เกี่ยวของกับการสงเสริม ประชาธิปไตย แลวยังพบวา ผูบริหารโรงเรียน และครูมีลักษณะอัตตาธิปไตย การบริหาร โรงเรียนและการสอนในชั้นเรียน และครูยังไมมี

ความเขาใจแทจริงเกี่ยวกับประชาธิปไตย มองวิถี

ประชาธิปไตยเปนเพียงรูปแบบกิจกรรมมากกวา

(6)

วิถีประชาธิปไตย” สอดคลองกับงานวิจัยของ สุเมธ เจตปยะวัฒน (2539, บทคัดยอ) ที่พบวา การสงเสริมประชาธิปไตยในดานการจัดองคการ บริหารในโรงเรียนมีระดับการปฏิบัตินอย อาจ กลาวไดวา การสงเสริมและใหความรูเรื่อง ประชาธิปไตยกับองคกรสถาบันการศึกษาทาง ศาสนา พระสงฆจึงอาจกลาวไดวามีสวนสำคัญ ในการทำหนาที่อบรมใหความรู ความเขาใจ ที่ถูกตองในเรื่องเกี่ยวกับประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข การเปนพลเมือง ที่ดีกับประชาชน จึงทำใหเกิดความสนใจที่จะ ศึกษาเรื่อง แนวทางการเสริมสรางประชาธิปไตย ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม เนื่องจากพระภิกษุ สามเณร เหลานี้เปนกลไกสำคัญที่จะชวยสงเสริม ประชาธิปไตยไปสูเด็กและเยาวชน ซึ่งเปน ทรัพยากรบุคคลที่สำคัญในการพัฒนาสังคม และประเทศชาติตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย

ผูวิจัยไดกำหนดวัตถุประสงคของการ วิจัยไวดังนี้

1. เพื่อศึกษาปญหาการเสริมสราง ประชาธิปไตยในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม

2. เพื่อศึกษาการดำรงตนแบบวิถี

ประชาธิปไตยของนักเรียนในโรงเรียนพระ- ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม

3. เพื่อเสนอแนะแนวทางการเสริม สรางประชาธิปไตยในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม

สมมติฐานในการวิจัย

1. ปญหาการเสริมสรางประชาธิปไตย ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม ไดแก ปญหาดานบุคลากร และปญหาดานงบประมาณ

2. การดำรงตนแบบวิถีประชาธิปไตย ของนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม อยูระดับปานกลาง

3. แนวทางการเสริมสรางประชาธิปไตย ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ไดแก การสงเสริมความรูความเขาใจใหแก

นักเรียน ครูผูสอน และผูมีสวนเกี่ยวของ

วิธีการดำเนินการวิจัย

การศึกษาวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาวิจัย เชิงปริมาณแบบสำรวจ โดยการสำรวจจากกลุม ประชากรและกลุมตัวอยาง (Sample Survey Research) เกี่ยวกับแนวทางการเสริมสราง ประชาธิปไตยในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม

ประชากรกลุมเปาหมายในการวิจัย ประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา ไดแก

ผูจัดการโรงเรียน จำนวน 28 รูป/แหง ผูอำนวย- การโรงเรียน จำนวน 28 รูป/แหง รองผูอำนวย- การโรงเรียน จำนวน 28 แหง 49 รูป/คน รวม ประชากรที่ศึกษาจำนวน 105 รูป/คน

กลุมตัวอยาง จะเปนการสุมกลุมตัวอยาง แบบหลายขั้นตอน (Multistage Random Sampling) ตามโอกาสหรือความนาจะเปน โดย กลุมตัวอยางแบบแบงกลุมซึ่งใชขนาดกลุม

(7)

ตัวอยางตามสูตรของ Taro Yamane (1973) คือ ครูผูสอนบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัด เชียงใหม จำนวนทั้งสิ้น 170 รูป/คน

สูตร n =

เมื่อ n = ขนาดตัวอยาง N = จำนวนประชากร

e = ความคลาดเคลื่อนของกลุม ตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้กำหนดใหมีความ คลาดเคลื่อนไดรอยละ 5 หรือ e = .05

แทนคาสูตรไดดังนี้

n =

= 170

ขนาดตัวอยางของครูผูสอนบุคลากร ทางการศึกษาของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม ในการวิจัย ครั้งนี้ จำนวนทั้งสิ้น 170 รูป/คน

นักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดเชียงใหม จำนวน ทั้งสิ้น 370 รูป

สูตร n =

เมื่อ n = ขนาดตัวอยาง N = จำนวนประชากร

e = ความคลาดเคลื่อนของกลุม ตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้กำหนดใหมีความ คลาดเคลื่อนไดรอยละ 5 หรือ e = .05

แทนคาสูตรไดดังนี้

N =

= 370

ขนาดตัวอยางของนักเรียนในโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัด เชียงใหม ในการวิจัยครั้งนี้จำนวนทั้งสิ้น 370 รูป

เครื่องที่ใชในการรวบรวมขอมูล (Instrumentation)

เครื่องมือสำหรับการเก็บรวบรวมขอมูล ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวย แบบสอบถาม (Questionnaires) ซึ่งผูวิจัยไดทำการออกแบบ จากเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ ไดเปน แบบสอบถามแบบปลายปดและปลายเปด (Closed-ended and Open-ended questions) มีลักษณะเปนแบบสอบถาม จำนวน 3 ฉบับ ดังนี้

แบบสอบถาม ชุดที่ 1 ใชเก็บขอมูลจาก ผูบริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษา ประกอบดวย คำถาม 4 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ข  อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง ผู  ต อ บ แบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ วุฒิการศึกษา สูงสุด ประสบการณการทำงานในโรงเรียน และ ตำแหนง/หนาที่ในโรงเรียน ลักษณะคำถามเปน แบบสำรวจรายการ (Check List)

ตอนที่ 2 การดำรงตนตามแบบวิถี

ประชาธิปไตยของนักเรียนในโรงเรียนพระ ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม

เปนคำถามแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ 1+298(0.05)2

298

1+5,072(0.05)2 5,072

1+N(e)2 N

1+N(e)2 N

(8)

(Rating Scale) ไดแก ระดับนอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก และมากที่สุด

ตอนที่ 3 ป ญ ห า ก า ร เ ส ร ิ ม ส ร  า ง ประชาธิปไตยในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม เปนคำถามแบบ ปลายเปด (Open Ended)

ตอนที่ 4 แนวทางการเสริมสราง ประชาธิปไตยในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม เปนคำถามแบบ ปลายเปด (Open Ended)

แบบสอบถาม ชุดที่ 2 ใชเก็บขอมูลจาก กลุมตัวอยาง ครู/บุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ประกอบดวยคำถาม 4 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ข  อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง ผู  ต อ บ แบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ วุฒิการศึกษา สูงสุด และประสบการณการทำงานการสอน ในโรงเรียน ลักษณะคำถามเปนแบบสำรวจ รายการ (Check List)

ตอนที่ 2 การดำรงตนแบบวิถีประชา- ธิปไตยของนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม เปนคำถาม แบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ (Rating Scale) ไดแก ระดับนอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก และมากที่สุด

ตอนที่ 3 ป ญ ห า ก า ร เ ส ร ิ ม ส ร  า ง ประชาธิปไตยในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม เปนคำถามแบบ ปลายเปด (Open Ended)

ตอนที่ 4 แนวทางการเสริมสราง ประชาธิปไตยในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม เปนคำถามแบบ ปลายเปด (Open Ended)

แบบสอบถาม ชุดที่ 3 ใชเก็บขอมูลจาก กลุมตัวอยางที่เปนนักเรียนโรงเรียนพระ

ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ประกอบดวย คำถาม 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ข  อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง ผู  ต อ บ แบบสอบถาม ไดแก สถานภาพผูตอบ แบบสอบถาม อายุ กำลังศึกษาอยูในระดับใด และไดมีสวนรวมในกิจกรรมเกี่ยวกับ ประชาธิปไตยในโรงเรียนอยางไรบาง ลักษณะ คำถามเปนแบบสำรวจรายการ (Check List)

ตอนที่ 2 การดำรงตนตามแบบวิถี

ประชาธิปไตยของนักเรียนในโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัด เชียงใหม เปนคำถามแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ (Rating Scale) ไดแก ระดับนอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก และมากที่สุด

ตอนที่ 3 แนวทางการเสริมสราง ประชาธิปไตยในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม เปนคำถามแบบ ปลายเปด (Open Ended)

สรุปผลการวิจัย

จากการศึกษาวิจัยเรื่อง แนวทางการ เสริมสรางประชาธิปไตยในโรงเรียนพระ ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัด เชียงใหม ครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปญหา การเสริมสรางประชาธิปไตยในโรงเรียน พระปริยัติธรรม รวมถึงการศึกษาการดำรงตน แบบวิถีประชาธิปไตยของนักเรียนในโรงเรียน พระปริยัติธรรม และการศึกษาแนวทางการ เ ส ร ิ ม ส ร  า ง ป ร ะ ช า ธ ิ ป ไ ต ย ใ น โ ร ง เ ร ี ย น พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยแบบสำรวจ (Survey) โดยใชแบบสอบถามแบบมีโครงสราง (Structure Questionnaire) จำนวน 3 ฉบับ เก็บรวบรวมขอมูลจากประชากรและกลุมตัวอยาง

(9)

จำนวน 3 กลุม ไดแก ผูบริหารสถานศึกษา ครูสอน และนักเรียน จากโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดเชียงใหม จำนวน 28 แหง

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณไดใชสถิติ

เชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ไดแก คา ความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน โดยใชโปรแกรมสำเร็จรูปทาง คอมพิวเตอรในการประมวลผลและวิเคราะห

ขอมูล สวนขอมูลเชิงคุณภาพที่ไดจากแบบสอบถาม ปลายเปด วิเคราะหในเชิงเนื้อหา (Content Analysis) โดยการรวบรวมความคิดเห็นในการตอบ ผลการวิเคราะหขอมูล สรุปไดดังนี้

1. ปญหาการเสริมสรางประชาธิปไตย ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม แบงเปน 4 ดาน ไดแก ปญหา ดานบุคลากร ปญหาดานงบประมาณ ปญหา ดานวัสดุอุปกรณและเครื่องอำนวยความสะดวก และปญหาดานการบริหารจัดการ

2. การดำรงตนแบบวิถีประชาธิปไตย ของนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม อยูในระดับ ปานกลาง

3. แนวทางการเสริมสรางประชาธิปไตย ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม แบงเปน 4 ดานหลัก ไดแก

การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน สงเสริมการมีสวนรวมในการดำเนินกิจกรรม/

โครงการภายในสถานศึกษา สนับสนุนความ รวมมือจากผูมีสวนเกี่ยวของและหนวยงาน ภายนอก และสงเสริมความรูความเขาใจใหแก

ผูมีสวนเกี่ยวของ

โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษา เปนสถานศึกษาที่จัดบริการดานการศึกษา ใหกับพระภิกษุ สามเณร ภายใตการกำกับดูแล

ของสำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ ในพื้นที่

จังหวัดเชียงใหม มีโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา รวม 28 โรงเรียน เปดสอน ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.1–3) จำนวน 6 โรงเรียน และเปดสอนในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย (ม.4–6) จำนวน 22 โรงเรียน มีนักเรียนที่เปนพระภิกษุและสามเณร รวม 5,072 รูป มีครู/บุคลากรทางการศึกษา รวม 298 คน (อางอิงขอมูลจาก สำนักงานกลุม โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 5 ขอมูล ณ 10 มิถุนายน 2554)

การศึกษาวิจัยเรื่อง แนวทางการเสริม สรางประชาธิปไตยในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม ครั้งนี้

เก็บรวบรวมขอมูลจากประชากรและกลุมตัวอยาง จำนวน 3 กลุม ไดแก ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และนักเรียน ขอมูลทั่วไปของผูตอบ แบบสอบถามสรุปไดดังนี้

1. ผูบริหารสถานศึกษา ไดแก ผูอำนวย- การโรงเรียน รองผูอำนวยการโรงเรียน และ ผูจัดการโรงเรียน จำนวน 105 รูป/คน สวนใหญ

เปนเพศชาย รอยละ 89.52 มีอายุระหวาง 41- 50 ป และ 51-60 ป จำนวนเทากัน รวมรอยละ 70.48 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี รอยละ 54.29 มีประสบการณทำงานในโรงเรียนเปน ระยะเวลา 11-15 ป รอยละ 48.57 มีตำแหนง รองผูอำนวยการโรงเรียน รอยละ 46.66

2. ครู/บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 170 รูป/คน สวนใหญเปนเพศชาย รอยละ 65.29 มีอายุระหวาง 41-50 ป รอยละ 45.30 จบการ ศึกษาระดับปริญญาตรี รอยละ 85.29 มีประสบการณทำงานดานการสอนเปนระยะ เวลา 6-10 ป รอยละ 45.29

3. นักเรียน จำนวน 370 รูป สวนใหญ

เปนสามเณร รอยละ 99.73 มีอายุระหวาง

(10)

16-19 ป รอยละ 55.41 กำลังศึกษาอยูในระดับ มัธยมศึกษาตอนตน (ม.1-3) รอยละ 52.97 และมีสวนรวมในกิจกรรมเกี่ยวกับประชาธิปไตย ในโรงเรียน โดยการเปนผูเขารวมกิจกรรมจำนวน มากที่สุด รอยละ 79.19

อภิปรายผล

1. การศึกษาปญหาการเสริมสราง ประชาธิปไตยในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม เก็บขอมูลจาก ผูบริหารสถานศึกษา และครู/บุคลากรทางการ ศึกษา พบวา ปญหาการเสริมสรางประชาธิปไตย ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แบงออกเปน 4 ดาน ไดแก ปญหาดานบุคลากร ปญหาดาน งบประมาณ ปญหาดานวัสดุอุปกรณและเครื่อง อำนวยความสะดวก และปญหาดานการบริหาร จัดการ ซึ่งความเห็นของผูบริหารสถานศึกษา สอดคลองและเปนไปในทิศทางเดียวกันกับความ เห็นของครูผูสอน โดยเห็นวาปญหาดานบุคลากร ไดแก จำนวนบุคลากรของทางโรงเรียนมีอยู

นอย ทั้งครูผูสอน บุคลากรทางการศึกษาและ เจาหนาที่ จึงไมสามารถรับผิดชอบโครงการ/

กิจกรรมที่มีความตอเนื่อง รวมถึงการขาดความ รูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการเสริมสราง ประชาธิปไตยในโรงเรียน ขาดความตระหนัก และมองไมเห็นความสำคัญของการเสริมสราง ประชาธิปไตยในโรงเรียน จึงมีสวนสำคัญที่ทำให

การเสริมสรางประชาธิปไตยในโรงเรียน ไมประสบผลสำเร็จเทาที่ควร ขณะเดียวกัน ปญหาดานงบประมาณที่มีอยูอยางจำกัด ไมเพียงพอตอการดำเนินกิจกรรมดานการเสริม สรางประชาธิปไตยในโรงเรียนอยางตอเนื่อง ขาดงบประมาณในการจัดซื้อจัดหาวัสดุอุปกรณ

และเครื่องอำนวยความสะดวกตางๆ ที่ทันสมัย

สอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว ที่เปนเชนนี้

อาจเนื่องมาจากโรงเรียนพระปริยัติธรรม สวนใหญ เปนโรงเรียนขนาดเล็ก มีทรัพยากร ทางการบริหารอยูอยางจำกัด ทั้งดานบุคลากร ทางการศึกษาและดานงบประมาณ จึงไม

เพียงพอตอการบริหารโครงการ/กิจกรรมการ เสริมสรางประชาธิปไตยในโรงเรียน ทำใหการ ดำเนินกิจกรรมขาดความตอเนื่อง อยางไรก็ตาม ในความเห็นของครู/บุคลากรทางการศึกษา เห็นวา ปญหาการเสริมสรางประชาธิปไตย ในโรงเรียนพระปริยัติธรรมสวนหนึ่ง เกิดจาก ปญหาดานการบริหารจัดการของผูบริหารสถาน ศึกษา ที่ไมใหความสำคัญตอการดำเนินโครงการ/

กิจกรรมการเสริมสรางประชาธิปไตยในโรงเรียน อยางจริงจัง การบริหารโครงการ/กิจกรรมขาด ความตอเนื่อง ขาดการวางแผนการทำงานอยาง เปนระบบ ขาดการกำหนดแผนและนโยบาย ที่เปนรูปธรรม ขาดการประชาสัมพันธขอมูล ขาวสาร ขาดการติดตามและประเมินผล และ ขาดการมีสวนรวมจากผูมีสวนเกี่ยวของ จาก ผลการศึกษาขางตน สอดคลองกับผลการวิจัย ของรัฐพนธ มากแสงสิริ (2548) ซึ่งพบวา ปญหา ในการสรางเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา เกิดจากการบริหารจัดการของโรงเรียน และ ความคิดเห็นของครูผูรับผิดชอบและผูบริหาร สถานศึกษา สวนใหญมีความเห็นตรงกันวา บทบาทของผูบริหารในการสรางเสริม ประชาธิปไตยในสถานศึกษา ควรมีการเตรียม วางแผนงานรวมกับทุกฝาย มีการจัดสรร งบประมาณใหเพียงพอ ใหทุกคนเขามามี

สวนรวมแสดงความคิดเห็น มีการดำเนินการ อยางสม่ำเสมอ ตอเนื่องและจริงจัง มีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานอยาง ตอเนื่องเปนระบบ มีการแตตั้งผูรับผิดชอบการ นิเทศติดตามอยางเหมาะสม และสรางความ

(11)

สัมพันธกับชุมชนอยางใกลชิด ขณะเดียวกัน ผูบริหารควรเขาไปเปนที่ปรึกษาใหแกชุมชน มีการประเมินผลอยางตอเนื่องและนำผลการ ประเมินมาแกไขปรับปรุงพัฒนางาน และจัดให

มีการประเมินผลโดยคณะกรรมการ ซึ่งขอ เสนอแนะจากการวิจัยขางตน สอดคลอง กับผลการวิจัยของวีรดา ชุลีกราน (2544) ซึ่ง ไดศึกษาแนวทางการพัฒนาวิถีชีวิตประชาธิปไตย ของนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา พบวา แนวทางพัฒนาวิถีชีวิตประชาธิปไตยของนักเรียน ไดแก ผูบริหารสถานศึกษาตองใหความสำคัญ กับการพัฒนาวิถีชีวิตประชาธิปไตยในสถานศึกษา บุคลากรทุกฝายที่เกี่ยวของตองปฏิบัติตนเปน แบบอยางที่ดี การพัฒนาวิถีชีวิตประชาธิปไตย ตองดำเนินการอยางเปนระบบ สม่ำเสมอ และ ตอเนื่อง ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใชกระบวนการกลุม ฝกฝนใหนักเรียน ไดคิด วิเคราะห ตัดสินใจ และสามารถแกปญหา บนพื้นฐานความถูกตองและมีเหตุผลสนับสนุน สถานศึกษาตองจัดบรรยากาศใหเอื้อตอการ พัฒนาประชาธิปไตย และผูบริหารสถานศึกษา ควรยกยองผูที่ปฏิบัติตามวิถีชีวิตประชาธิปไตย จากการวิจัยขางตน แมจะพบปญหาการเสริม สรางประชาธิปไตยในโรงเรียนพระปริยัติธรรม ซึ่งเกิดจากทรัพยากรทางการบริหารที่มีอยูอยาง จำกัด แตถาเปดโอกาสใหทุกฝายเขามามี

สวนรวมในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมตาม หลักการประชาธิปไตย ยอมทำใหการเสริมสราง ประชาธิปไตยในโรงเรียนพระปริยัติธรรมประสบ ผลสำเร็จไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. การศึกษาการดำรงตนแบบวิถี

ประชาธิปไตยของนักเรียนในโรงเรียนพระ- ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม

ดานนักเรียน พบวา การดำรงตนแบบวิถี

ประชาธิปไตยของนักเรียนในโรงเรียนพระ

ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงใหม

โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ย โดยรวม 2.95) เปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว

และเมื่อแยกตามประเด็นที่ศึกษา พบวา การ ดำรงตนแบบวิถีประชาธิปไตยของนักเรียนใน โรงเรียนพระปริยัติธรรม อยูในระดับนอย-มาก (มีคาเฉลี่ยระหวาง 2.11-4.06) โดยกิจกรรมที่

ไดดำเนินการระดับมาก ไดแก การมีสวนแนะนำ ใหเพื่อนปฏิบัติตนตามระเบียบวินัย หนาที่ของ การเปนศาสนทายาทที่ดี มีอิสระในการแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเมืองอยางสรางสรรค

(มีคาเฉลี่ยระหวาง 3.94-4.06) กิจกรรมที่ได

ดำเนินการระดับปานกลาง ไดแก การมีสวนรวม และสนับสนุนกิจกรรมการจัดตั้งสภานักเรียน การมีสวนรวมในการเขารวมกิจกรรมวัน รัฐธรรมนูญ การลงคะแนนการเลือกตั้งประธาน นักเรียนและทีมงาน การมีสวนรวมและสนับสนุน การเลือกตั้งหัวหนาหอง การยอมรับฟงความ คิดเห็นของผูอื่น แลวนำความคิดเห็นที่ดีที่ถูกตอง มาเปนแนวทางปฏิบัติ การสงเสริมใหปฏิบัติ

ตามเสียงขางมาก แตก็ใหเกียรติเสียงขางนอย การเขารวมกิจกรรมของสภานักเรียนที่เปน แบบอยางประชาธิปไตยอยูเสมอ และไดรับการ สงเสริมใหรูแพ รูชนะ รูอภัย (มีคาเฉลี่ยระหวาง 2.99-3.31) สวนกิจกรรมที่มีการดำเนินการ ระดับนอย ไดแก การมีสวนรวมแนะนำใหเพื่อน ปฏิบัติเรื่องการเคารพสิทธิของบุคคล ไมละเมิด สิทธิผูอื่น การรณรงคการเลือกตั้งประธาน นักเรียนและกรรมการนักเรียนอยางสุจริต มีการจัดบอรดประชาสัมพันธเกี่ยวกับสิทธิและ หนาที่พลเมืองตามระบอบประชาธิปไตย มีสวนรวมและสนับสนุนการจัดตั้งกลุมเพื่อ บำเพ็ญสาธารณประโยชน และมีสวนรวม เผยแพรความรูเกี่ยวกับสิทธิ หนาที่ตามระบอบ ประชาธิปไตยกับศรัทธาประชาชนทั่วไป (มีคา

Referensi

Dokumen terkait

การศึกษาทักษะทางสังคมของนักเรียนโครงการศูนย์ศักยวิโรฒ ในการจัดการศึกษา แบบเรียนร่วมส�าหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ : กรณีศึกษาโครงการศูนย์ ศักยวิโรฒ

ดานเนื้อหาขอมูลที่เกี่ยวของกับศึกษา ไดแก ขนาดของการจับถือและพกพาของผูสูงอายุ ปญหาในการรับประทาน ยาของผูสูงอายุ และพฤติกรรมของผูสูงอายุ วิธีการดําเนินงานวิจัย