• Tidak ada hasil yang ditemukan

Study how the idea is intiated to form the gathering of Tai-Puan women to produce local textile in Ban Padang, Tambol Nongphayom, Amphoe Tapanhin, Pichit Province 2

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "Study how the idea is intiated to form the gathering of Tai-Puan women to produce local textile in Ban Padang, Tambol Nongphayom, Amphoe Tapanhin, Pichit Province 2"

Copied!
6
0
0

Teks penuh

(1)

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

หัวขอวิทยานิพนธ การรวมกลุมของสตรีชาวไทพวนในการผลิตงานหัตถกรรมทอผาพื้นเมือง : กรณีศึกษาการจัดตั้งศูนยทอผาบานปาแดง ตําบลหนองพยอม อําเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร

ชื่อผูวิจัย นายศุภกิจ สุมสาย สาขา การวิจัยและพัฒนาทองถิ่น กลุมวิชา ลานนาคดีศึกษา

คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ

ประธานกรรมการ ผูชวยศาสตราจารยดร.รัตนาพร เศรษฐกุล กรรมการ ผูชวยศาสตราจารยประสิทธิ์ เลียวสิริพงศ

กรรมการ ผูชวยศาสตราจารยประกาย นิมมานเหมินท

___________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

คณะกรรมการสอบ

...ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยดร.รัตนาพร เศรษฐกุล)

...…กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยประสิทธิ์ เลียวสิริพงศ)

...…กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยประกาย นิมมานเหมินท)

...…กรรมการ (อาจารยอรุณรัตน วิเชียรเขียว)

บัณฑิตวิทยาลัยสถาบันราชภัฏเชียงใหมอนุมัติใหนับวิทยานิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่ง ของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวิจัยและพัฒนาทองถิ่น

...…รักษาการคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (ผูชวยศาสตราจารยดร.อรพินทร ศิริบุญมา)

วันที่ เดือน เมษายน พ.ศ. 2547

ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏเชียงใหม

(2)

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

หัวขอวิทยานิพนธ : การรวมกลุมของสตรีชาวไทพวนในการผลิตงานหัตถกรรมทอผาพื้นเมือง :

กรณีศึกษาการจัดตั้งศูนยทอผาบานปาแดง ตําบลหนองพยอม อําเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร

ชื่อผูวิจัย : นายศุภกิจ สุมสาย สาขา : การวิจัยและพัฒนาทองถิ่น คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ

: ผูชวยศาสตราจารยดร.รัตนาพร เศรษฐกุล ประธานกรรมการ : ผูชวยศาสตราจารยประสิทธิ์ เลียวสิริพงศ กรรมการ

: ผูชวยศาสตราจารยประกาย นิมมานเหมินท กรรมการ

บทคัดยอ

การวิจัยเรื่องการรวมกลุมของสตรีชาวไทพวนในการผลิตงานหัตถกรรมทอผาพื้นเมือง : กรณีศึกษาการจัดตั้งศูนยทอผาบานปาแดง ตําบลหนองพยอม อําเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ

1. เพื่อศึกษาแนวคิดในการรวมกลุมของสตรีชาวไทพวน ในการผลิตงานหัตถกรรม ทอผาพื้นเมืองบานปาแดง ตําบลหนองพยอม อําเภอตะพานหินจังหวัดพิจิตร

2. เพื่อศึกษาบทบาทหนาที่ของกลุมสตรีชาวไทพวนในการดําเนินธุรกิจการผลิต งานหัตถกรรมทอผาพื้นเมืองบานปาแดง ตําบลหนองพยอม อําเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร 3. เพื่อศึกษาบทบาทหนาที่ของกลุมสตรีชาวไทพวนในการพัฒนากระบวนการผลิต งานหัตถกรรมทอผาพื้นเมืองบานปาแดง ตําบลหนองพยอม อําเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร

การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพมีการเก็บรวบรวมขอมูลหลายวิธีผสมผสาน กันทั้งการสัมภาษณแบบเปนทางการและไมเปนทางการ ใชคําถามในการสัมภาษณแบบไม

มี โครงสรางและแบบมีโครงสราง จากนั้นนําขอมูลมาจัดเปนหมวดหมูวิเคราะหตาม วัตถุประสงคของการวิจัยโดยนําเสนอโดยการบรรยาย ผลของการวิจัยสรุปไดดังนี้

แนวคิดในการรวมกลุมของสตรีชาวไทพวนเพื่อการผลิตงานหัตถกรรมทอผาพื้นเมือง บานปาแดงตําบลหนองพยอม อําเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร เพื่อแกไขปญหาความไมแนนอน

(3)

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

ของราคาผลผลิตทางการเกษตร มุงเนนที่จะอนุรักษกรรมวิธีและเทคนิคในการทอผาดวยมือ ที่ใกลจะหายสาบสูญใหคงอยูคูกับทองถิ่นตลอดไปโดยยังคงตั้งอยูบนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเอง ดวยวัสดุที่มีในทองถิ่นใหอนุชนรุนหลังไดศึกษาและสืบทอดภูมิปญญาในการทอผาดวยมือของ ชาวบานปาแดงใหเปนที่รูจักกันอยางแพรหลายทั่วไปซึ่งยังเปนตัวกําหนดทิศทางการดําเนินงาน ของสมาชิกใหไปในทิศทางเดียวกัน ผลที่ไดคือกลุมสมาชิกจะมีอํานาจตอรองราคากับผูบริโภค และผูจําหนายวัตถุดิบรวมกันควบคุมคุณภาพของผาทอใหมีมาตรฐานสูงขึ้นตลอดจนสราง ความสามัคคีใหเกิดขึ้นในชุมชนดวย

จากการศึกษาทําใหทราบบทบาทหนาที่ของสมาชิกกลุมสตรีชาวไทพวนในการดําเนินงาน ภายในศูนยโดยกลุมสตรีไดรวมกันวางระบบธุรกิจการทอผาของกลุมไวใหสมาชิกเปนแนวปฏิบัติ

ใหไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งกอใหเกิดคุณภาพมาตรฐานที่สูงขึ้นของผลิตภัณฑและความสะดวก ในขั้นตอนการสรางโอกาสดานเงินทุน การผลิต และการหาตลาดเพื่อจําหนายตอไป

บทบาทหนาที่ของกลุมสตรีในการรวมกันพัฒนากระบวนการผลิตงานหัตถกรรม ทอผาพื้นเมืองบานปาแดงคือทางกลุมไดพัฒนาวัตถุดิบที่จะนํามาทอ โดยทางกลุมรวมกันพัฒนา ในสวนของการคัดสรรไหมประดิษฐที่มีคุณภาพสูงราคาไมแพงเพื่อที่จะนํามาทอนอกจากนั้นทาง กลุมยังไดรวมกันพัฒนาการแปรสภาพดายที่จะนํามาทอ คือ รวมกันพัฒนาการมัดลายหมี่และ ยอมสีดายใหมีความแปลกตาในสวนของการพัฒนาดานลวดลายทางกลุมสมาชิกไดคิดประดิษฐ

ลายผาทอใหมๆ ออกสูตลาดเพื่อใหเปนอีกหนึ่งทางเลือกของผูบริโภคตอไป

(4)

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

The Title : The Gathering of Tai-Puan Women in Producing Local Textile : A Case Study of BanPadang Textile Center, Tambol Nongphayom,

Amphoe Tapanhin, Pichit Province The Author : Mr.Supphakit Sumsay

M.A. Degree Program : Community Reserch and Development

Thesis Advisors : Asst. Prof. Dr. Ratanaporn Sethakul Chairman : Asst. Prof. Prasit Leosiripong Member : Asst. Prof. Prakai Nimmanahaeminda Member

ABSTRACT

This research is aimed to

1. Study how the idea is intiated to form the gathering of Tai-Puan women to produce local textile in Ban Padang, Tambol Nongphayom, Amphoe Tapanhin, Pichit Province

2. Study the roles and functions of the gathering of Tai-Puan women in operating the business producing the local textile

3. Study the roles and functions of the gathering of Tai-Paun women in developing the process of producing the local textile

This study is qualitative research. The means of collecting data is mixed, including formal and informal interviews. The questions for interviewing are both patterned and nonpatterned. Then the data are organized and classified according to the research objectives.

The finding of the study is presented by means of description. The conclusions of the findings are as follows :

The idea to produce the local textile is initiated to solve the problems of the unstable prices of the agricultural products in Ban Padang, Tambol Nongphayom, Amphoe Tapanhin, Pichit province. The main objective is to conserve and revive the traditional methods and techniques of producing this local handicraft which are almost forgotten so that these methods

(5)

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

and techniques can be handed down to the younger generation. Moreover, this local textile is hoped to become well-known for the general public. For this purpose, the gathering members have the power to bargain with the consumers and the raw-material sellers over the prices. The members can control and develop the quality to become better and they can also create a unity in the community.

The findings also show the roles and functions of the gathering of Tai-Puan women in the center. These women set up the business system in the local textile producing for all members to follow so that they have the same procedures in the same direction and they can also develop better qualities of their products. It is also convenient for them to seek for financial supports for future production and marketing.

For the development of the producing process of the local textile in Ban Padang, the findings show that the gathering of Tai-Puan women has developed the raw materials for their weaving. They have selected inexpensive but better quality silk. They also help develop the pattern called “Mud Lai Mhee” to dye this kind of silk into different colours. As for the weaving patterns, they have tried to invent new patterns as alternatives for the market.

(6)

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จไดดวยความกรุณาจากทานผูชวยศาสตราจารยดร.รัตนาพร เศรษฐกุลประธานกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ ผูชวยศาสตราจารยประสิทธิ์ เลียวสิริพงศ

ผูชวยศาสตราจารยประกาย นิมมานเหมินท กรรมการควบคุมวิทยานิพนธและอาจารยอรุณรัตน

วิเชียรเขียว กรรมการสอบที่ไดใหคําแนะนําและตรวจแกไขขอบกพรองตางๆมาโดยตลอดผูวิจัย ขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไวณที่นี้

ขอขอบคุณวิทยากรและสมาชิกสหกรณกลุมทอผาบานปาแดง ตําบลหนองพยอม อําเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตรทุกทานที่ใหความรวมมือและอํานวยความสะดวกในการเก็บขอมูล และใหการสัมภาษณขอมูลตางๆในการศึกษาวิจัยครั้งนี้จนประสบความสําเร็จลุลวงดวยดี

สุดทายนี้ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณ คุณพอคุณแมนองๆและเพื่อนๆ ทุกคนที่ได

กรุณาชวยเหลือในดานตางๆ และเปนกําลังใจแกผูวิจัยมาโดยตลอด

ศุภกิจ สุมสาย

Referensi

Dokumen terkait

The Influence of Social Media Marketing and Digital Textile Printing on Consumer Engagement: A Study of Indonesian Batik Industry.. Keisya Amara Syaiful a * and Nilanthi

H1 There is statistically significant difference among Altman, Springate, Grover, and Zmijewski models when predicting financial distress in the textile companies listed on IDX