• Tidak ada hasil yang ditemukan

THE STUDY OF MATHEMATICAL ANALYTIC THINKING USING PROBLEM-SOLVING APPROACH RELATED TO FUNCTIONS OF MATHAYOMSUKSA V STUDENTS

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "THE STUDY OF MATHEMATICAL ANALYTIC THINKING USING PROBLEM-SOLVING APPROACH RELATED TO FUNCTIONS OF MATHAYOMSUKSA V STUDENTS"

Copied!
309
0
0

Teks penuh

THE EXAMINATION OF MATHEMATICAL ANALYTICAL THINKING THROUGH PROBLEM SOLVING APPROACH TO FUNCTIONS OF MATHAYOMSUKSA V STUDENTS. The purpose of the study is to study the ability and performance in mathematical analytical thinking using problem solving related to functions of Mathayomsuksa Five students.

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการคิดวิเคราะห์

ความหมายของการคิดวิเคราะห์

ลักษณะของการคิดวิเคราะห์

องค์ประกอบของการคิดวิเคราะห์

แนวการจัดการเรียนรู้ที่เสริมสร้างความสามารถในการคิดวิเคราะห์

การวัดและประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการคิดวิเคราะห์

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ผ่านการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

ความหมายของการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

ประเภทของปัญหาทางคณิตศาสตร์

กระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

แนวการจัดการเรียนรู้ผ่านการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

ซึ่งมาร์ซาโน (Marzano, 2001, p. 38) สรุปวิเคราะห์ว่าเป็นกระบวนการที่มีเหตุผลในการขยายความรู้ ฆนัท ธาตุทอง (2554, น. 40) ให้ความสำคัญของการคิด วิเคราะห์ว่าเป็นความสามารถในการจำแนกองค์ประกอบต่าง ๆ ของบางสิ่งบางอย่าง อาจเป็นสิ่งของ สิ่งของ เรื่องราว หรือเหตุการณ์ก็ได้ และค้นหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบเหล่านี้ เพื่อค้นหาสภาพความเป็นจริงหรือสาระสำคัญของสิ่งที่กำหนดให้

การก าหนดประชากร และการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

การก าหนดกรอบแนวคิดของกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่เสริมสร้าง

การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

การเก็บรวบรวมข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูล

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

การทดสอบสมมติฐานของการวิจัย

พฤติกรรมด้านการจ าแนก

พฤติกรรมด้านการจัดหมวดหมู่

พฤติกรรมด้านการตรวจสอบ

พฤติกรรมด้านการน าไปใช้

พฤติกรรมด้านการลงข้อสรุป

การก าหนดขอบเขตของการวิจัยโดยการเลือกประชากร และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน

การก าหนดกรอบแนวคิดของการศึกษาการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ผ่านการ

การเก็บรวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย

การวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย

ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์

พฤติกรรมในการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์

เสริมว่าในระหว่างกระบวนการค้นพบจะต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน ตัวแปรหรือกฎที่ควบคุมความสัมพันธ์เหล่านี้ ในระยะหลังมีการพัฒนาแบบจำลองที่มุ่งออกแบบการจัดอนุกรมวิธานของวัตถุประสงค์ทางการศึกษาใหม่ให้สอดคล้องกับความหมายเชิงวิเคราะห์ของ Good Marzano (Marzano, 2001, pp. ภาพประกอบเกี่ยวกับกระบวนการอนุกรมวิธานสองระดับ ที่มา : Marzano คะแนนการทดสอบย่อยระหว่างการศึกษาแบ่งออกเป็นการทดสอบย่อย 3 ครั้ง ๆ ละ 20 คะแนน (รวม 60% ของคะแนนทั้งหมด) การพัฒนาโปรแกรมการสอนแบบแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาความสามารถของนักเรียนครูในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และของพวกเขา ความเชื่อเกี่ยวกับการแก้ปัญหา

ชญาภา ใจโปร่ง (2554) ศึกษากิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่เลือกใช้. กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาที่หลากหลาย เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทาง. เมื่อนักเรียนมีประสบการณ์ในการตั้งปัญหาทาง. ความมุ่งหมายของการวิจัยนี้ คือ เพื่อศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทาง คณิตศาสตร์และพฤติกรรมในการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ผ่านการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์. ที่เกี่ยวข้องกับฟังก์ชันของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งข้อมูลที่เก็บรวบรวมน าไปท าการ วิเคราะห์ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้ในการประเมิน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในส่วนของ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้ในการประเมินพฤติกรรมในการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์. การก าหนดกรอบแนวคิดของกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่เสริมสร้าง ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ผ่านการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่. ในการวิจัยนี้ ผู้วิจัยก าหนดกรอบแนวคิดของกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่. เสริมสร้างความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ผ่านการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่. จุดมุ่งหมายของกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์. ขอบเขตของกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์. กิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่เสริมสร้างความสามารถในการคิดวิเคราะห์. ในกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์นี้ นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการแก้ปัญหา ตามแนวคิดของโพลยาและกระบวนการแก้ปัญหาที่เป็นพลวัตตามแนวคิดของวิลสันและคณะ ซึ่งกระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา เป็นกระบวนการแก้ปัญหาที่ได้รับการยอมรับ และแพร่หลายทั่วโลก ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นท าความเข้าใจปัญหา ขั้นวางแผน แก้ปัญหา ขั้นด าเนินการตามแผน และขั้นตรวจสอบผล ส าหรับกระบวนการแก้ปัญหาที่เป็นพลวัต ตามแนวคิดของวิลสันและคณะ เป็นกระบวนการแก้ปัญหาที่สนับสนุนกระบวนการแก้ปัญหาตาม แนวคิดของโพลยาในรูปแบบที่แสดงความเป็นพลวัต มีล าดับไม่ตายตัว สามารถวนไปเวียนมาได้. ดังภาพประกอบ 5. ภาพประกอบ 5 กระบวนการแก้ปัญหาที่เป็นพลวัตที่ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์. ส่วนร่วมในการอภิปรายผลการแก้ปัญหาของตนเองและของกลุ่ม แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์. กิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่เสริมสร้างความสามารถในการคิดวิเคราะห์. ฝึกฝน กระบวนการแก้ปัญหาและความสามารถในการการคิดวิเคราะห์. ทางคณิตศาสตร เรียนรู้ สร้างประสบการณ์และ ดูความคงทน ในการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์. ภาพประกอบ 6 ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละคาบเรียน. The Development of a Problem-Solving Instructional Program to Develop Preservice Teachers’ Competence in Solving Mathematical Problems and Their Beliefs Related to Problem Solving. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จ านวน 12 คาบเรียน และเวลาในการทดสอบหลังเรียน 2 คาบเรียน ส่วนของ การสังเกตพฤติกรรมในการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ใช้เวลาจ านวน12คาบเรียน.

ข้อเสนอแนะส าหรับการเรียนการสอน

ข้อเสนอแนะส าหรับการวิจัยครั้งต่อไป

กรอบแนวคิดการวิจัย

ระดับของกระบวนการจัดกระท ากับข้อมูลตามแนวคิดของมาร์ซาโน

มุมมองของคนส่วนใหญ่ต่อกระบวนการของโพลยา

กระบวนการแก้ปัญหาที่เป็นพลวัตที่ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่

กระบวนการแก้ปัญหาที่เป็นพลวัตที่ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์

ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละคาบเรียน

ค าตอบข้อที่ 1 และ 2 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 1 และ 2 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 1 และ 2 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 1 และ 2 ของมะพูดสองในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 1 และ 2 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 1 และ 2 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 1 และ 2 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 1 และ 2 ของมะพูดสองในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 1 และ 2 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 9

ค าตอบข้อที่ 1 และ 2 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 9

ค าตอบข้อที่ 1 และ 2 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 9

ค าตอบข้อที่ 1 และ 2 ของมะพูดสองในคาบเรียนที่ 9

ค าตอบข้อที่ 3 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 3 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 3 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 3 ของมะพูดสองในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 3 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 3 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 3 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 3 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 3 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 3 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 4 และ 5 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 4 และ 5 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 4 และ 5 ของมะพูดสองในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 4 และ 5 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 4 และ 5 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 4 และ 5 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 4 และ 5 ของมะพูดสองในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 4 และ 5 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 4 และ 5 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 4 และ 5 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 4 และ 5 ของมะพูดสองในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 4 และ 5 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 7 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 7 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 7 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 7 ของมะพูดสองในคาบเรียนที่ 2

ค าตอบข้อที่ 7 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 7 ของมะพูดสองในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 7 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 7 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 7 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 7 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 7 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 7 ของมะพูดสองในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 8 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 9 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 8 ของมะพูดสองในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 9 ของมะพูดสองในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 8 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 9 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 8 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 9 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 6

ค าตอบข้อที่ 8 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 9 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 8 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 9 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 8 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 9 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 8 ของมะพูดสองในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 9 ของมะพูดสองในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 10 ของมะอึกหนึ่งในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 10 ของมะหาดสามในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 10 ของมะเกลือสี่ในคาบเรียนที่ 11

ค าตอบข้อที่ 10 ของมะพูดสองในคาบเรียนที่ 11

The effect of problem-based learning environments on student problem-solving achievement. The effect of the problem-solving approach on the academic achievement of students in mathematics at the secondary level.

Referensi

Dokumen terkait

Based on the problems that have been described, focus of problem in this study are whether there is an effect of the problem-centered learning approach to students' mathematical

The thinking process of students with medium logical-mathematical intelligence in solving problems is: a understanding the problem by reading repeatedly, explaining what is being asked