• Tidak ada hasil yang ditemukan

A STUDY OF MATHEMATICAL PROBLEM SOLVING ABILITY ANDMATHEMATICAL REASONING ABILITY OF NINTH GRADE STUDENTSIN SURFACE AREAS AND VOLUMES USING COGNITIVE GUIDEDINSTRUCTION WITH VISUALIZATION AND THE CONVENTIONAL METHOD

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "A STUDY OF MATHEMATICAL PROBLEM SOLVING ABILITY ANDMATHEMATICAL REASONING ABILITY OF NINTH GRADE STUDENTSIN SURFACE AREAS AND VOLUMES USING COGNITIVE GUIDEDINSTRUCTION WITH VISUALIZATION AND THE CONVENTIONAL METHOD"

Copied!
180
0
0

Teks penuh

ตรวจสอบทักษะการแก้ปัญหาและการใช้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ วิทยานิพนธ์เป็นส่วนหนึ่งของโครงการศึกษา ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การศึกษาและการจัดการเรียนรู้ การวิจัยเรื่องการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และทักษะการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 9 วัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ (1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 9 เรื่อง พื้นที่และปริมาตรก่อนและหลังเรียนบทเรียนเสริมปัญญาแนะแนว (CGI ) พร้อมการแสดงภาพ; (2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตรที่ได้รับ CGI ด้วยภาพ กับกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบปกติ (3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 9 เรื่อง พื้นที่และปริมาตรก่อนและหลังได้รับ CGI ด้วยการแสดงภาพ และ (4) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 9 เรื่อง พื้นที่และปริมาตรที่ได้รับ CGI กับการแสดงภาพกับนักเรียนที่เคยสอนตามปกติ

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแนะให้รู้คิด

แนวคิดและทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้

ความหมายของการสอนแนะให้รู้คิด

แนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยการสอนแนะให้รู้คิด

ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนโดยการสอนแนะให้รู้คิด

บทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนโดยการสอนแนะให้รู้คิด

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนโดยการสอนแนะให้รู้คิด

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการนึกภาพ

ความหมายของการนึกภาพ

ความส าคัญของการนึกภาพ

ประเภทของการนึกภาพ

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนโดยการนึกภาพ

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

ความหมายของความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

กระบวนการในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

ยุทธวิธีที่ใช้ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

แนวทางในการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

องค์ประกอบที่ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

การวัดและประเมินความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์

ความหมายของการให้เหตุผล

ความหมายของความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์

ความส าคัญของความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์

ลักษณะของการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์

แนวทางในการพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์

การวัดและประเมินความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์

ขั้นตอนพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์

พัฒนาการการเรียนรู้ของบรูนเนอร์

แสดงล าดับขั้นการเรียนรู้ของกาเย

การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการนึกภาพ

แสดงยุทธวิธีที่ใช้ในการแก้ปัญหา

ตัวอย่างเกณฑ์การประเมินผลแบบเกณฑ์ย่อยของการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

แสดงเกณฑ์การประเมินเพื่อเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนใช้เป็นกรอบในการประเมินคุณภาพ

เกณฑ์การให้คะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

เกณฑ์การให้คะแนนความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์

แบบแผนการทดลอง

ข้อมูลพื้นฐานของคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

ข้อมูลพื้นฐานของคะแนนความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์

ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนก่อน

ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับ

ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนก่อน

กรอบแนวคิดในการวิจัย

การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึมโดยใช้การมองภาพแบบต่าง ๆ

ภาพสองมิติของทรงกระบอกและปริซึมฐานสาม

ภาพนามธรรม เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ

แสดงการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานโดยใช้การเคลื่อนที่

กระบวนการแก้ปัญหาที่เป็นพลวัตตามแนวคิดของวิลสันและคณะ

1.3) ระยะที่ 3 ในช่วงท้ายของการจัดการเรียนการสอนตามแผนการสอน ที่ 10 – 13 เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน. ในการท ากิจกรรม. จะเพียงพอต่อการผลิตกระเป๋าสตางค์ จ านวน 500 ใบหรือไม่ เพราะเหตุใด. ปริมาณผ้าที่มีเพียงพอต่อการผลิตกระเป๋าสตางค์หรือไม่. ถ้ามีผ้าอยู่ 15 ตารางเมตรจะสามารถผลิตกระเป๋าสตางค์ได้ = ปริมาณผ้าทั้งหมด ปริมาณผ้าต่อกระเป๋าหนึ่งใบ. ความสูงไม่สามารถเป็นจ านวนลบได้. ปริมาณผ้ามีไม่เพียงพอต่อการผลิตกระเป๋าสตางค์จ านวน 500 ใบ เนื่องจากมีผ้าอยู่ 15 ตารางเมตร จะสามารถผลิตกระเป๋าได้เพียง 416 ใบ. ด้านละ 30 เมตร และมีความสูง 20 เมตร ถ้าอาคารหลังนี้ด้านข้างท ามาจากกระจกทั้งหมด อยากทราบว่าอาคารแห่งนี้ต้องใช้ปริมาณกระจกทั้งหมดเท่าใด. มาตรฐานการเรียนรู้. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด. ความรับผิดชอบในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 5. ครูใช้กิจกรรมถอดรหัสปริศนา เพื่อทบทวนการหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิต โดยมีขั้นตอน ด าเนินกิจกรรมดังนี้. 1.1 ครูแจกใบกิจกรรมถอดรหัสปริศนาให้นักเรียนคนละ 1 ใบ. ถ้ามีผ้าอยู่ 15 ตารางเมตรจะสามารถผลิตกระเป๋าสตางค์ได้ = ปริมาณผ้าทั้งหมด ปริมาณผ้าต่อกระเป๋าหนึ่งใบ. ตอบ ไม่เพียงพอ เพราะท ากระเป๋าสตางค์ได้เพียง 416 ใบ. โจทย์ถามอะไร. ถ้าด้านข้างของอาคารหลังนี้ท ามาจากกระจกทั้งหมด อยากทราบว่าต้องใช้. ถ้ากำหนดให้หมวกแต่ละใบมีความสูง 18 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร อยากทราบว่าในการทำหมวกแต่ละใบจะต้องเตรียมกระดาษอย่างน้อยเท่าใด.

ตรวจสอบค าตอบ 2. แสดงวิธีการตรวจค าตอบได้ถูกต้อง - แสดงวิธีการตรวจค าตอบได้ถูกต้อง บางส่วน หรือไม่ครบถ้วน. ไม่ตรวจค าตอบ หรือตรวค าตอบไม่ถูกต้อง. การสรุปค าตอบ 1. แบบทดสอบวัดความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบอัตนัย ให้นักเรียนแสดงแนวคิดในการหาค าตอบ ประกอบการเขียนอธิบายเหตุผลอย่างละเอียด พร้อมทั้งสรุปค าตอบให้ชัดเจน. เฉลยแบบทดสอบวัดความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบอัตนัย ให้นักเรียนแสดงแนวคิดในการหาคำตอบ ประกอบการเขียนอธิบายเหตุผลอย่างละเอียด พร้อมทั้งสรุปคำตอบให้ชัดเจน. 10 ใช้ไม่ได้ เนื่องจาก ความยาวไม่สามารถเป็น จ านวนลบได้. 25 ใช้ไม่ได้ เนื่องจาก ความยาวไม่สามารถเป็น จ านวนลบได้. โดยเทียนไขมีความสูง 10 เซนติเมตร ฐานของเทียนไขกว้าง 6 เซนติเมตร ยาว 8 เซนติเมตร. หาปริมาตรของเทียน. หาปริมาตรของขนมกล้วย. ปริมาตรของขนมกล้วย = 1. ความสูงไม่สามารถเป็นจ านวนลบได้. หาปริมาตรของกรวยไอศกรีม. ปริมาตรของกรวยไอศกรีม = 1. หาปริมาตรของไอศกรีมจำนวน 1 ลูก. ตอบ ไอศกรีมจะละลายเต็มกรวยพอดี เพราะปริมาตรของกรวยไอศกรีมและปริมาตรของไอศกรีมมี. เกณฑ์การให้คะแนนความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์. คะแนน/ความหมาย คะแนน. แสดงขั้นตอนประกอบการให้เหตุผลได้. ถูกต้องเพียงบางส่วน. แสดงขั้นตอนประกอบการให้เหตุผลไม่. การสรุปค าตอบ 1. ผลการประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องของแผนการสอนโดยการสอนแนะให้รู้คิดร่วมกับ การนึกภาพ จ านวน 13 แผน. ผลการประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องของแผนการสอนโดยการสอนแบบปกติจ านวน 13 แผน. ผลการประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ของแบบทดสอบวัด ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์. ผลการประเมินค่าความยากง่าย ค่าอ านาจจ าแนก และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ วัดความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์. ตาราง 18 ผลการประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องของแผนการสอนโดยการสอนแบบปกติ. ตาราง 19 ผลการประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ของแบบทดสอบ วัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์. ตาราง 20 ผลการประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ของแบบทดสอบ วัดความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์. ตาราง 21 ผลการประเมินค่าความยากง่าย ค่าอ านาจจ าแนก ของแบบทดสอบวัดความสามารถ ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ จ านวน 8 ข้อ. D) ผลการพิจารณา. D) ผลการพิจารณา.

ระดับการคิดของKrulik and Rudnick

การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน

การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน

การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน

บรรยากาศการน าเสนอแนวคิด วิธีการที่นักเรียนใช้ในการแก้ปัญหา

Referensi

Dokumen terkait

randomized controlled trial included in the GRADE review noted that assisted partner notification services resulted in: higher uptake of HIV testing among partners of people with