• Tidak ada hasil yang ditemukan

เกณฑ์การให้คะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

คะแนน/ความหมาย คะแนน

(ระดับคุณภาพ)

ความสามารถในการแก้ปัญหา ที่ปรากฏให้เห็น

1. ท าความเข้าใจปัญหา

1. สิ่งที่โจทย์ก าหนดให้ 1 0

- เขียนสิ่งที่โจทย์ก าหนดให้ได้ครบ

- เขียนสิ่งที่โจทย์ก าหนดให้ได้ไม่ครบ/ไม่เขียน 2. สิ่งที่โจทย์ต้องการ 1

0

- เขียนสิ่งที่โจทย์ถามได้ครบ

- เขียนสิ่งที่โจทย์ถามได้ไม่ครบ/ไม่เขียน

2. วางแผนการแก้ปัญหา 2

1

0

- เลือกวิธีการที่สามารถแก้ปัญหาได้ถูกต้อง เหมาะสม และสอดคล้องกับปัญหา - เลือกวิธีการที่สามารถแก้ปัญหาได้ถูกต้อง แต่ยังไม่เหมาะสมหรือไม่ครอบคลุมประเด็น ของปัญหา

- เลือกวิธีการแก้ปัญหาไม่ถูกต้อง หรือไม่

สามารถเลือกวิธีการแก้ปัญหาได้

ตาราง 8 (ต่อ)

คะแนน/ความหมาย คะแนน

(ระดับคุณภาพ)

ความสามารถในการแก้ปัญหา ที่ปรากฏให้เห็น

3, ด าเนินการแก้ปัญหา 3

2

1 0

- น าวิธีการแก้ปัญหาไปใช้ได้และแสดงการ แก้ปัญหาเป็นล าดับขั้นตอนชัดเจน ค านวณ ค าตอบได้ถูกต้อง

- น าวิธีการแก้ปัญหาไปใช้ได้อย่างถูกต้อง และแสดงการแก้ปัญหาเป็นล าดับขั้นตอนได้

อย่างชัดเจน แต่ค านวณค าตอบผิด - น าขั้นตอนการแก้ปัญหาไปใช้ได้ถูกต้อง แต่การแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหายังไม่ชัดเจน - น าวิธีการแก้ปัญหาไปใช้ไม่ถูกต้อง หรือไม่

แสดงล าดับขั้นตอนการแก้ปัญหา

4. ตรวจสอบค าตอบ 2

1 0

- แสดงวิธีการตรวจค าตอบได้ถูกต้อง

- แสดงวิธีการตรวจค าตอบได้ถูกต้องบางส่วน หรือไม่ครบถ้วน

- ไม่ตรวจค าตอบ หรือตรวค าตอบไม่ถูกต้อง

5. การสรุปค าตอบ 1

0

- นักเรียนสรุปค าตอบได้ถูกต้อง

- นักเรียนเขียนสรุปค าตอบไม่ถูกต้อง/เขียนสรุป ค าตอบไม่ครบ/นักเรียนไม่เขียนสรุปค าตอบ 3.5 ผู้วิจัยสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร ซึ่งเป็นแบบทดสอบแบบอัตนัย จ านวน 8 ข้อ และน าเสนออาจารย์

ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมและให้ข้อเสนอแนะเพื่อน ามาปรับปรุงแก้ไข จากนั้นน าแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่แก้ไขแล้วเสนอต่อ ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอนคณิตศาสตร์ และด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา จ านวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบ

กับ จุดป ระสงค์การเรียนรู้ และความ เหม าะสมของภ าษ า (Index of item-objective Congruence: IOC) ซึ่งผู้เชี่ยวชาญแต่ละท่านจะให้คะแนนตามเกณฑ์ ดังนี้

ให้คะแนน +1 เมื่อผู้เชี่ยวชาญแน่ใจว่าข้อค าถามนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์

การเรียนรู้

ให้คะแนน 0 เมื่อผู้เชี่ยวชาญไม่แน่ใจว่าข้อค าถามนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์

การเรียนรู้

ให้คะแนน -1 เมื่อผู้เชี่ยวชาญแน่ใจว่าข้อค าถามนั้นไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์

การเรียนรู้

น าผลการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์เพื่อหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of item-objective Congruence: IOC) จากนั้นคัดเลือกข้อสอบที่มีค่า IOC ตั้งแต่

0.67–1.00 ขึ้นไป จ านวน 4 ข้อ

3.6 น าแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่ปรับปรุง แก้ไขตามค าแนะน าของผู้เชี่ยวชาญแล้วน าไปทดลองใช้ (try out) กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร จ านวน 1 ห้องเรียน จ านวนนักเรียน 38 คน ที่เคยเรียนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรมาแล้ว และไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างที่ใช้

ในการทดลองซึ่งที่มีพื้นฐานความรู้ใกล้เคียงกับกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม แล้วน าผล การทดสอบมาวิเคราะห์คุณภาพรายข้อโดยคัดเลือกข้อสอบที่มีค่าความยากง่ายระหว่าง 0.48–0.62 และค่าอ านาจจ าแนกตั้งแต่ 0.31–0.40 โดยคัดเลือกให้ครอบคลุมจุดประสงค์

การเรียนรู้จ านวน 4 ข้อ จากนั้นน าแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบัค (Cronbah’s Alpha Coefficient) ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.95

3.7 จัดท าแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

ฉบับสมบูรณ์เพื่อน าไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลต่อไป

4. แบบทดสอบวัดความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์

ผู้วิจัยสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์

เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร ซึ่งเป็นแบบทดสอบแบบอัตนัยจ านวน 4 ข้อ ใช้เวลา 50 นาที ซึ่งผู้วิจัย ด าเนินการสร้างแบบทดสอบดังนี้

4.1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถในการให้เหตุผล ทางคณิตศาสตร์จากเอกสาร ต ารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

4.2 ศึกษาเนื้อหาเรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร จากหนังสือแบบเรียนและคู่มือครู

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)

4.3 ก าหนดกรอบการสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถในการให้เหตุผล ทางคณิตศาสตร์

4.4 ก าหนดเกณฑ์การให้คะแนนของแบบวัดความสามารถในการให้เหตุผล ทางคณิตศาสตร์ ผู้วิจัยได้ศึกษาเกณฑ์การตรวจให้คะแนนของสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546, น. 121-123); จิณดิษฐ์ ลออปักษิณ (2550, น. 183);

และ สิรินทรา มินทะขัติ (2556, น. 166-167) ดังตารางที่ 9