• Tidak ada hasil yang ditemukan

PDF กส 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "PDF กส 2550 ัมหาวิทยาลัิยศลปากร"

Copied!
303
0
0

Teks penuh

(1)

การศึกษาแบบจําลองและลักษณะทางสถิติของความเขมรังสีดวงอาทิตยในประเทศไทย

โดย

นางสาวพิมพร ผาพรม

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟสิกส

ภาควิชาฟสิกส

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550

ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

(2)

โดย

นางสาวพิมพร ผาพรม

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟสิกส

ภาควิชาฟสิกส

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550

ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

(3)

RADIATION IN THAILAND

By

Pimporn Phaprom

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF SCIENCE

Department of Physics Graduate School SILPAKORN UNIVERSITY

2007

(4)

และลักษณะทางสถิติของความเขมรังสีดวงอาทิตยในประเทศไทย ” เสนอโดย นางสาวพิมพร ผาพรม เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟสิกส

……...

(รองศาสตราจารย ดร. ศิริชัย ชินะตังกูร) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

วันที่...เดือน... พ.ศ...

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ

รองศาสตราจารย ดร.เสริม จันทรฉาย คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ

... ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารยจํานงค ธํารงมาศ)

.../.../...

... กรรมการ (อาจารย ดร. ดุษฎี ศุขวัฒน)

.../.../...

... กรรมการ (รองศาสตราจารย ดร. เสริม จันทรฉาย) .../.../...

(5)

คําสําคัญ : รังสีดวงอาทิตย / อัตราสวนความเขมรังสีกระจายตอรังสีรวม / ดัชนีเมฆ/ ดัชนีความใสของ บรรยากาศ/ สัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศและพื้นผิวโลก

พิมพร ผาพรม : การศึกษาแบบจําลองและลักษณะทางสถิติของความเขมรังสีดวงอาทิตยใน ประเทศไทย. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ : รศ.ดร. เสริม จันทรฉาย. 266 หนา.

ในงานวิจัยนี้ ผูวิจัยไดทําการพัฒนาแบบจําลองเชิงสถิติสําหรับคํานวณรังสีกระจายจากคา สัมประสิทธการสะทอนของบรรยากาศและพื้นผิวโลก (ρEA) คาดัชนีเมฆ (n) และคาดัชนีความใสของ บรรยากาศ (Kt) โดยคาสัมประสิทธการสะทอนของบรรยากาศและพื้นผิวโลกและคาดัชนีเมฆจะคํานวณ จากขอมูลภาพถายดาวเทียม GMS 5 ระหวางป ค.ศ. 1996-2000 รวมกับขอมูลความเขมรังสีดวงอาทิตยจาก สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา ระหวางป ค.ศ. 1995-2006 ในการวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยจะนําคาสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศและพื้นผิวโลก คาดัชนีเมฆ และคาดัชนีความใส ของบรรยากาศ มาหาความสัมพันธกับอัตราสวนความเขมรังสีกระจายตอรังสีรวม และทําการหา แบบจําลองทางสถิติของความสัมพันธดังกลาว โดยพิจารณาทั้ง 4 กรณี ไดแก กรณีขอมูลรายชั่วโมง ราย ชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน รายวัน และรายวันเฉลี่ยตอเดือน หลังจากนั้นผูวิจัยจะนําแบบจําลองที่ไดของแตละ สถานีมาทดสอบสมรรถนะ โดยใชขอมูลอิสระซึ่งมิไดนํามาสรางแบบจําลอง จากผลที่ไดพบวา แบบจําลองที่พัฒนาขึ้นโดยใชขอมูลดัชนีความใสของบรรยากาศ มีสมรรถนะดีที่สุด โดยคารังสีกระจาย รายวันเฉลี่ยตอเดือนที่ไดจากแบบจําลองมีคาสอดคลองกับผลการวัด โดยคาความแตกตางในรูปของ root mean square difference (RMSD) ในกรณีขอมูลรายวันเฉลี่ยตอเดือนของสถานีเชียงใหม อุบลราชธานี

นครปฐม และสงขลา มีคาเทากับ 9.1%, 5.4%, 10.6% และ 10.8% ตามลําดับ นอกจากนี้ ผูวิจัยไดศึกษา ลักษณะทางสถิติของความเขมรังสีรวมจากเครือขายสถานีวัดรังสีดวงอาทิตยของประเทศไทย จํานวน 37 แหง จากการศึกษาการแปรคาในรอบวันและการแปรตามฤดูกาลในรอบป พบวาคาสูงสุดของความเขม รังสีรวมรายชั่วโมงจะเปลี่ยนแปลงไปในแตละเดือน และคาความเขมรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนจะ เปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล โดยสถานีวัดสวนใหญมีคาสูงสุดในชวงเดือนเมษายนและพฤษภาคม สุดทาย ผูวิจัยไดเสนอผลการแจกแจงทางสถิติของรังสีรวมรายชั่วโมงและรายวัน

ภาควิชาฟสิกส บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550 ลายมือชื่อนักศึกษา...

ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ...

(6)

KEY WORD : SOLAR RADIATION/ DIFFUSE FRACTION/ CLOUD INDEX/ CLEARNESS INDEX/ ATMOSPERIC-EARTH ALBEDO

PIMPORN PHAPROM : A STUDY OF MODELS AND STATISTICAL CHARACTERISTICS OF SOLAR RADIATION IN THAILAND. THESIS ADVISOR : ASST.

PROF. SERM JANJAI, Ph.D. 266 pp.

In this work, models for calculating diffuse solar radiation from satellite - derived earth- atmospheric albedo, satellite - derived cloud index and clearness index were developed. The satellite – derived earth-atmospheric albedo and cloud index were calculated from GMS-5 satellite data collected during 1996-2000. Solar radiation measured at 4 stations : Chiang Mai, Ubon Ratchathani, Nakhon Pathom and Songkhla during 1995-2006 were also used for the development of the models. The satellite-derived earth-atmospheric albedo, cloud index and clearness index were correlated with the diffuse fraction. Statistical models for calculating diffuse solar radiation for the cases of hourly data, monthly average hourly data, daily data and monthly average daily data were obtained. The performance of the models were tested using independent data sets. It was found that the models based on clearness index performed best. The monthly average daily diffuse radiation calculated from these models were in good agreement with the

measurement, with the root mean square difference (RMSD) of 9.1%, 5.4%, 10.6% and 10.8%

for Chiang Mai, Ubon Ratchathani, Nakhon Pathom and Songkhla, respectively. In addition, global solar radiation collected from 37 solar radiation measuring stations over Thailand were also analyzed. Diurnal and seasonal radiation were studied. The peaks of hourly radiation vary with the months of the year. Monthly average daily global radiation changes in the course of the year with the maxima in April and May for most stations. The statistical distribution of hourly and daily global radiation were also presented.

Department of Physics Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2007 Student's signature ...

Thesis Advisor's signature ...

(7)

ในการศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตนี้ ผูวิจัยไดรับทุนผูชวยวิจัยจากหองปฏิบัติการ วิจัยฟสิกสบรรยากาศ ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งผูวิจัย ขอขอบคุณไว ณ ที่นี้เปนอยางสูง

ผูวิจัยขอขอบพระคุณรองศาสตราจารย ดร. เสริม จันทรฉาย ซึ่งเปนอาจารยที่ปรึกษา ผูใหคําแนะนําดานวิชาการ พรอมทั้งจัดหาทุนวิจัย เครื่องมือ อุปกรณ และขอมูลสําหรับใชในการ ดําเนินงานวิจัย

ผูวิจัยขอขอบพระคุณรองศาสตราจารยจํานงค ธํารงมาศ หัวหนาภาควิชาฟสิกส คณะ วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ใหการสนับสนุนดานงานบริหารตางๆ และขอขอบพระคุณ อาจารย ดร. ดุษฎี ศุขวัฒน อาจารยประจําภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ที่กรุณาเสียสละเวลามาเปนกรรมการสอบวิทยานิพนธ

ผูวิจัยขอขอบคุณอาจารยประสาน ปานแกว และอาจารยสุมามาลย บรรเทิง ที่ให

คําแนะนําดานการวิเคราะหขอมูลภาพถายดาวเทียม ขอขอบคุณเจาหนาที่กรมอุตุนิยมวิทยา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และกรมพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน ที่ใหความอนุเคราะหสถานที่ติดตั้งเครื่องมือและขอมูลประกอบการทําวิจัย

นอกจากนี้ ผูวิจัยขอขอบคุณ คุณรุงรัตน วัดตาล คุณตรีนุช จันทราช คุณธารา สีสะอาด คุณยุทธศักดิ์ บุญรอด คุณวิทยา ทานะมัย และนักวิจัยทุกทานของหองปฏิบัติการวิจัย ฟสิกสบรรยากาศ ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ชวยเหลือในการอาน เรียบเรียงขอมูล และสอบเทียบหัววัด รวมทั้งสนับสนุนงานวิจัย

ทายสุดนี้ คุณประโยชนที่เกิดจากวิทยานิพนธฉบับนี้ ผูวิจัยขอมอบใหกับบิดาและ มารดารวมทั้งคณาจารยทุกทาน เพื่อตอบแทนพระคุณที่ไดชวยใหผูวิจัยประสบความสําเร็จใน การศึกษา

(8)

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย ง

บทคัดยอภาษาอังกฤษ จ

กิตติกรรมประกาศ ฉ

สารบัญตาราง ฎ

สารบัญภาพ ฒ

สัญลักษณ ว

บทที่

1 บทนํา 1

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1

1.2 วัตถุประสงค 2

1.3 ขอบเขตของงานวิจัย 2

2 หลักทางวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 3

2.1 แหลงกําเนิดของรังสีดวงอาทิตย 3 2.2 ความสัมพันธทางเรขาคณิตระหวางโลกกับดวงอาทิตย 4 2.2.1 วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย 4 2.2.2 ทรงกลมทองฟาและทางเดินปรากฏของเทหวัตถุ 5 2.2.3 ทางเดินปรากฏของดวงอาทิตย 7 2.2.4 การบอกตําแหนงของดวงอาทิตย 9 2.2.5 เวลาและตําแหนงของดวงอาทิตย 11 2.2.6 มุมตกกระทบของลําแสงอาทิตยบนพื้นเอียง 14 2.3 รังสีดวงอาทิตยนอกบรรยากาศโลก 15 2.3.1 สเปกตรัมของรังสีดวงอาทิตยนอกบรรยากาศโลก 15 2.3.2 คาคงที่สุริยะ (solar constant) 16 2.3.3 รังสีดวงอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนพื้นราบ 16 2.4 มวลอากาศที่รังสีดวงอาทิตยเคลื่อนที่ผาน (optical air mass) 18

2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 19

2.5.1 กรณีขอมูลรายชั่วโมง 19

(9)

สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนา

2.5.2 กรณีขอมูลรายวัน 22

2.5.3 กรณีขอมูลรายวันเฉลี่ยตอเดือน 25

3 วิธีดําเนินการวิจัยและผล 27

3.1 การเตรียมขอมูลภาพถายดาวเทียม 27 3.1.1 การหาสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศและพื้นผิวโลก

ในชวงความยาวคลื่นของชองสัญญาณดาวเทียม หรือ ρEA 29 3.1.2 การคํานวณดัชนีเมฆ (cloud index) 31 3.1.2.1 คาสัมประสิทธิ์การสะทอนของพื้นผิวโลก (ρg) 31 3.1.2.2 คาสัมประสิทธิ์การสะทอนสูงสุดของเมฆ (ρc) 33 3.1.2.3 คาสัมประสิทธิ์การสะทอนของเมฆ บรรยากาศ

และพื้นผิวโลก (ρ) 33

3.2 การเตรียมขอมูลความเขมรังสีดวงอาทิตย 37 3.2.1 เครื่องวัดและอุปกรณบันทึกขอมูล 38 3.2.2 ชวงเวลาของขอมูลที่นํามาใชในงานวิจัย 43

3.2.3 การอานขอมูล 44

3.2.4 การควบคุมคุณภาพขอมูล 45 3.2.5 การสอบเทียบเครื่องวัดความเขมรังสีดวงอาทิตย 47

3.3 การวิเคราะหขอมูล 53

3.3.1 การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรสําหรับคํานวณอัตราสวน รังสีกระจายตอรังสีรวมจากสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศ และพื้นผิวโลก (Earth-Atmospheric albedo, ρEA) 53

3.3.1.1 ขอมูลรายชั่วโมง 53 3.3.1.2 ขอมูลรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน 56 3.3.1.3 ขอมูลรายวัน 59 3.3.1.4 ขอมูลรายวันเฉลี่ยตอเดือน 61 3.3.1.5 การทดสอบสมรรถนะของแบบจําลอง 63 3.3.2 การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรสําหรับคํานวณอัตราสวน

รังสีกระจายตอรังสีรวมจากคาดัชนีเมฆ (Cloud index, n) 72

(10)

สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนา

3.3.2.1 กรณีรายชั่วโมง 73 3.3.2.2 กรณีรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน 75 3.3.2.3 กรณีรายวัน 78 3.3.2.4 กรณีรายวันเฉลี่ยตอเดือน 80 3.3.2.5 การทดสอบสมรรถนะของแบบจําลอง 82 3.3.3 การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรสําหรับคํานวณอัตราสวน

รังสีกระจายตอรังสีรวมจาก คาดัชนีความใสของบรรยากาศ

(Clearness index) 89

3.3.3.1 ขอมูลรายชั่วโมง 89 3.3.3.2 ขอมูลรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน 97 3.3.3.3 กรณีขอมูลรายวัน 101 3.3.3.4 ขอมูลรายงันเฉลี่ยตอเดือน 108

3.4 สรุปผล 113

4 การศึกษาลักษณะทางสถิติของความเขมรังสีดวงอาทิตยสําหรับประเทศไทย 117 4.1 การเตรียมขอมูลความเขมรังสีดวงอาทิตย 117 4.1.1 สถานที่ตั้งของสถานีวัด 118 4.1.2 การติดตั้งเครื่องวัดและอุปกรณบันทึกขอมูล 120 4.1.3 อุปกรณการวัดและการบันทึกขอมูล 123

4.1.4 การอานขอมูล 137

4.1.5 การควบคุมคุณภาพขอมูลและการสอบเทียบเครื่องวัด 137

4.2 การวิเคราะหผล 141

4.2.1 การแปรคาความเขมรังสีรวมตามเวลาในรอบวัน (diurnal variation) 141 4.2.2 การแปรคาความเขมรังสีรวมตามฤดูกาลในรอบป

(seasonal variation) 179

4.2.3 การแจกแจงคาความเขมรังสีรวมรายวัน 198 4.2.4 การแจกแจงคาความเขมรังสีรวมตลอดทั้งป 236

5 สรุป 256

บรรณานุกรม 258

(11)

สารบัญ (ตอ)

หนา

ภาคผนวก 261

ประวัติผูวิจัย 266

(12)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

3.1 แสดงคาสัมประสิทธิ์การสะทอนของพื้นผิวโลก (ρg) ของสถานีวัด 4 แหง

ในป ค.ศ. 1996-2000 32

3.2 แสดงตัวอยางของคาสัมประสิทธิ์การสะทอนของเมฆ บรรยากาศ และพื้นผิวโลก (ρ) ของสถานีเชียงใหมในป ค.ศ. 1996-2000 33 3.3 แสดงตัวอยางของคาสัมประสิทธิ์การสะทอนของเมฆ บรรยากาศและพื้นผิวโลก (ρ)

ของสถานีอุบลราชธานีในป ค.ศ. 1996-2000 34 3.4 แสดงตัวอยางของคาสัมประสิทธิ์การสะทอนสูงสุดของเมฆ และพื้นผิวโลก (ρ)

ของสถานีนครปฐมในป ค.ศ.1996-2000 34

3.5 แสดงตัวอยางของคาสัมประสิทธิ์การสะทอนของเมฆ บรรยากาศและพื้นผิวโลก (ρ) ของสถานีสงขลาในป ค.ศ.1996-2000 35 3.6 แสดงชวงเวลาของขอมูลความเขมรังสีดวงอาทิตยที่นํามาใชในงานวิจัย 43 3.7 แสดงผลการสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมของ 4 สถานี เมื่อป พ.ศ. 2550 52 3.8 แสดงสมการแบบจําลองสําหรับคํานวณคาความเขมรังสีกระจายรายชั่วโมง

จากคาสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศและพื้นผิวโลกรายชั่วโมง 55 3.9 แสดงสมการแบบจําลองสําหรับคํานวณคาความเขมรังสีกระจายรายชั่วโมง

เฉลี่ยตอเดือนจากคาสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศ

และพื้นผิวโลกรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน 58

3.10 แสดงสมการแบบจําลองสําหรับคํานวณคาความเขมรังสีกระจายรายวัน

จากคาสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศและพื้นผิวโลกรายวัน 60 3.11 แสดงสมการแบบจําลองสําหรับคํานวณคาความเขมรังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือน

จากคาสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศและพื้นผิวโลก

รายวันเฉลี่ยตอเดือน 62

3.12 แสดงคาความแตกตางของความเขมรังสีกระจายรายชั่วโมงที่ไดจากการวัดและการ คํานวณจากสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศและพื้นผิวโลกรายชั่วโมง 65 3.13 แสดงคาความแตกตางของความเขมรังสีกระจายรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนที่ได

จากการวัดและการคํานวณจากสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศ

และพื้นผิวโลกรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน 67

(13)

ตารางที่ หนา

3.14 แสดงคาความแตกตางของความเขมรังสีกระจายรายวันที่ไดจากการวัดและการ

คํานวณจากสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศและพื้นผิวโลกรายวัน 70 3.15 แสดงคาความแตกตางของความเขมรังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือนที่ไดจากการวัด

และจากการคํานวณจากสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศ

และพื้นผิวโลกรายวัน 72

3.16 แสดงสมการแบบจําลองสําหรับคํานวณคาความเขมรังสีกระจายรายชั่วโมง

จากคาดัชนีเมฆรายชั่วโมง 74

3.17 แสดงสมการแบบจําลองสําหรับคํานวณคาความเขมรังสีกระจายรายชั่วโมง

เฉลี่ยตอเดือนจากคาดัชนีเมฆรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน 77 3.18 แสดงสมการแบบจําลองสําหรับคํานวณคาความเขมรังสีกระจายรายวัน

จากคาดัชนีเมฆรายวัน 79

3.19 แสดงสมการแบบจําลองสําหรับคํานวณคาความเขมรังสีกระจายรายวัน

เฉลี่ยตอเดือนจากคาดัชนีเมฆรายวันเฉลี่ยตอเดือน 81 3.20 แสดงคาความแตกตางของความเขมรังสีกระจายรายรายชั่วโมงที่ไดจากการวัด

และการคํานวณจากดัชนีเมฆรายชั่วโมง 85

3.21 แสดงคาความแตกตางของความเขมรังสีกระจายรายรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน

ที่ไดจากการวัดและการคํานวณจากดัชนีเมฆรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน 85 3.22 แสดงคาความแตกตางของความเขมรังสีกระจายรายรายวันที่ไดจากการวัด

และการคํานวณจากดัชนีเมฆรายวัน 88

3.23 แสดงคาความแตกตางของความเขมรังสีกระจายรายรายวันเฉลี่ยตอเดือนที่ไดจากการวัด และการคํานวณจากดัชนีเมฆรายวันเฉลี่ยตอเดือน 88 3.24 แสดงสมการแบบจําลองสําหรับคํานวณคาความเขมรังสีกระจายรายชั่วโมง

จากการregression 91

3.25 แสดงคาความแตกตางของความเขมรังสีกระจายรายชั่วโมงที่ไดจากการวัด

และคาจากการคํานวณดัชนีความใสของบรรยากาศรายชั่วโมง 94 3.26 แสดงคาความแตกตางของความเขมรังสีกระจายที่ไดจากการวัดและคาการคํานวณ

จากดัชนีความใสของบรรยากาศรายชั่วโมง โดยเปรียบเทียบ

กับแบบจําลองตางๆ 95

(14)

ตารางที่ หนา

3.27 แสดงสมการแบบจําลองสําหรับคํานวณคารังสีกระจายรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน

จากคาดัชนีความใสของบรรยากาศรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน 99 3.28 แสดงคาความแตกตางของความเขมรังสีกระจายรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน

ที่ไดจากการวัดและคาจากการคํานวณจากคาดัชนีความใสของบรรยากาศ

รายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน 101

3.29 แสดงสมการแบบจําลองสําหรับคํานวณคารังสีกระจายรายวันจากคาดัชนีความใส

ของบรรยากาศรายวัน 104

3.30 แสดงคาความแตกตางของความเขมรังสีกระจายรายวันที่ไดจากการวัด

และการคํานวณจากคาดัชนีความใสของบรรยากาศรายวัน 106 3.31 แสดงความแตกตางของความเขมรังสีกระจายรายวันจากการวัดและการคํานวณ

จากคาดัชนีความใสของบรรยากาศ โดยเปรียบเทียบกับแบบจําลองตางๆ 107 3.32 แสดงสมการแบบจําลองสําหรับคํานวณคารังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือน

จากคาดัชนีความใสของบรรยากาศรายวันเฉลี่ยตอเดือน 110 3.33 แสดงคาความแตกตางของความเขมรังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือนที่ไดจากการวัด

และคาจากการคํานวณจากคาดัชนีความใสของบรรยากาศรายวัน 112 3.34 แสดงคาความแตกตางของความเขมรังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือนที่ไดจากการวัด

และคาจากการคํานวณโดยเปรียบเทียบกับแบบจําลองอื่นๆ 112 3.35 แสดงคาความแตกตางจากการวัดของแบบจําลองสําหรับคํานวณความเขม

รังสีกระจายจากตัวแปร 3 คา ในกรณีขอมูลรายชั่วโมง รายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน รายวัน และรายวันเฉลี่ยตอเดือน 114 4.1 แสดงรายชื่อและที่ตั้งสถานีวัดของเครือขายสถานีวัดความเขมรังสีดวงอาทิตย 119 4.2 แสดงชวงเวลาของขอมูลความเขมรังสีรวม จากเครือขายสถานีวัดความเขม

รังสีดวงอาทิตยที่ใชในงานวิจัย 137

4.3 แสดงคาผลการสอบเทียบคา sensitivity ของสถานีวัดทั้ง 37 แหง 139 A1 แสดงขอมูลความเขมรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนสถานีเชียงใหม 262 A2 แสดงขอมูลความเขมรังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือนสถานีเชียงใหม 262 A3 แสดงขอมูลความเขมรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนสถานีอุบลราชธานี 263 A4 แสดงขอมูลความเขมรังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือนสถานีอุบลราชธานี 263

(15)

ตารางที่ หนา

A5 แสดงขอมูลความเขมรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนสถานีนครปฐม 264 A6 แสดงขอมูลความเขมรังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือนสถานีนครปฐม 264 A7 แสดงขอมูลความเขมรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนสถานีสงขลา 265 A8 แสดงขอมูลความเขมรังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือนสถานีสงขลา 265

(16)

สารบัญภาพ

รูปที่ หนา

2.1 แสดงโครงสรางของดวงอาทิตย 4

2.2 แสดงวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย 4

2.3 แสดงโลกและทองฟา 6

2.4 แสดงลักษณะของทองฟา 7

2.5 แสดงตําแหนงของดวงอาทิตยเมื่อเทียบกับศูนยสูตรโลก 8 2.6 แสดงทางเดินปรากฏของดวงอาทิตยบนทองฟา 8 2.7 แสดงการบอกตําแหนงของดวงอาทิตยโดยใชระบบอาซิมุธ-อัลติจูด 9 2.8 แสดงการบอกตําแหนงของดวงอาทิตยโดยใชระบบศูนยสูตร 10 2.9 แสดงการแปรคาในรอบปของความแตกตางระหวางเวลาดวงอาทิตยกับเวลา

ดวงอาทิตยเฉลี่ย (Et) (Iqbal, 1983) 12

2.10 แสดงมุมตกกระทบของลําแสงอาทิตยบนพื้นเอียง 14 2.11 สเปกตรัมของรังสีดวงอาทิตยนอกบรรยากาศโลก (Iqbal, 1983) 15 2.12 แสดงรังสีเฉพาะขณะในระนาบตั้งฉากกับทิศของรังสีและระนาบของพื้นราบ 17 3.1 ตัวอยางภาพถายดาวเทียมใน satellite projection 28 3.2 ตัวอยางภาพถายดาวเทียมใน cylindrical projection ซึ่งหาพิกัดแลว 28 3.3 แสดงความสัมพันธระหวางคา BRIT และ Pseudo-reflectivity ของขอมูล

ภาพถายดาวเทียม 29

3.4 แสดงการแจกแจงความถี่สะสมของคาสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศ

และพื้นผิวโลก (ρEA) รายชั่วโมงของ 4 สถานี ระหวางป ค.ศ. 1996-2000 30 3.5 แสดงการแจกแจงความถี่สะสมของคาดัชนีเมฆรายชั่วโมงของ 4 สถานี

ระหวางป ค.ศ. 1996-2000 36

3.6 แสดงตําแหนงที่ตั้งของสถานี (A) เชียงใหม (B) อุบลราชธานี (C) นครปฐม

และ (D) สงขลา 38

3.7 แสดงภาพ (a) เครื่องวัดรังสีรวม และ (b) เครื่องวัดรังสีกระจาย

ของสถานีเชียงใหม 39

3.8 แสดงภาพเครื่องบันทึกขอมูลรังสีรวมและรังสีกระจายของสถานีเชียงใหม 40 3.9 แสดงภาพเครื่องวัดรังสีรวมและรังสีกระจายของสถานีอุบลราชธานี 40 3.10 แสดงภาพเครื่องบันทึกขอมูลรังสีรวมและรังสีกระจายของสถานีอุบลราชธานี 41

(17)

รูปที่ หนา

3.11 แสดงภาพ (a) เครื่องวัดรังสีรวม และ (b) เครื่องวัดรังสีกระจายของสถานีนครปฐม 41 3.12 แสดงภาพเครื่องบันทึกขอมูลรังสีรวมและรังสีกระจายของสถานีนครปฐม 42 3.13 แสดงภาพ (a) เครื่องวัดรังสีรวมและ (b) เครื่องวัดรังสีกระจายของสถานีสงขลา 42 3.14 แสดงภาพเครื่องบันทึกขอมูลรังสีรวมและรังสีกระจายของสถานีสงขลา 43 3.15 แสดงตัวอยางขอมูลดิบจากสถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค

บันทึกเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2549 44

3.16 แสดงลักษณะขอมูลที่ผิดปกติ ซึ่งจําเปนตองตรวจสอบ 46 3.17 แสดงกราฟระหวางความเขมรังสีดวงอาทิตยจากไพราโนมิเตอรมาตรฐาน

กับไพราโนมิเตอรที่ สอบเทียบ 47

3.18 แสดงการสอบเทียบไพราโนมิเตอรที่สถานีเชียงใหม เมื่อเดือนมกราคม 2550 48 3.19 แสดงการสอบเทียบไพราโนมิเตอรที่สถานีอุบลราชธานี เมื่อเดือนมีนาคม 2549 49 3.20 แสดงการสอบเทียบไพราโนมิเตอรที่สถานีสงขลา เมื่อเดือนเมษายน 2549 49 3.21 แสดงการสอบเทียบไพราโนมิเตอรที่สถานีนครปฐม เมื่อเดือนมิถุนายน 2550 50 3.22 แสดงกราฟความสัมพันธระหวางคาความเขมรังสีดวงอาทิตยที่ไดจากหัววัดมาตรฐาน

กับคาศักยไฟฟาจากหัววัดของสถานีเชียงใหม 50 3.23 แสดงกราฟความสัมพันธระหวางคาความเขมรังสีดวงอาทิตยที่ไดจากหัววัดมาตรฐาน

กับคาศักยไฟฟาจากหัววัดของสถานีอุบลราชธานี 51 3.24 แสดงกราฟความสัมพันธระหวางคาความเขมรังสีดวงอาทิตยที่ไดจากหัววัดมาตรฐาน

กับคาศักยไฟฟาจากหัววัดของสถานีนครปฐม 51

3.25 แสดงกราฟความสัมพันธระหวางคาความเขมรังสีดวงอาทิตยที่ไดจากหัววัดมาตรฐาน

กับคาศักยไฟฟาจากหัววัดของสถานีสงขลา 52

3.26 แสดงกราฟความสัมพันธระหวางอัตราสวนความเขมรังสีกระจายตอรังสีรวม รายชั่วโมง (Id/I) กับสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศ

และพื้นผิวโลกรายชั่วโมง (ρEA) ของสถานี (a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี

(c) นครปฐม และ (d) สงขลา 54 3.27 แสดงการเปรียบเทียบสมการแบบจําลองสําหรับคํานวณรังสีกระจายรายชั่วโมง

จากคาสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศและพื้นผิวโลกรายชั่วโมง ของทั้ง 4 สถานี คือ เชียงใหม (CM) อุบลราชธานี (UB) นครปฐม (NP)

และสงขลา (SK) 56

(18)

รูปที่ หนา

3.28 แสดงกราฟความสัมพันธระหวางอัตราสวนความเขมรังสีกระจายตอรังสีรวม รายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน (Id/I) กับสัมประสิทธิ์การสะทอน

ของบรรยากาศและพื้นผิวโลกรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน (ρEA) ของสถานี

(a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 57 3.29 แสดงการเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางอัตราสวนความเขมรังสีกระจาย

ตอรังสีรวมรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน(Id /I) กับสัมประสิทธิ์การสะทอน ของบรรยากาศและพื้นผิวโลกรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน (ρEA)

ของสถานีเชียงใหม (CM) อุบลราชธานี (UB) นครปฐม (NP)

และสงขลา (SK) 58

3.30 แสดงกราฟความสัมพันธระหวางอัตราสวนความเขมรังสีกระจายตอรังสีรวมรายวัน (Hd/H) กับสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศและพื้นผิวโลกรายวัน (ρEA) ของสถานี (a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 59 3.31 แสดงการเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางอัตราสวนความเขมรังสีกระจาย

ตอรังสีรวมรายวัน(Hd/H) กับสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศ และพื้นผิวโลกรายวัน (ρEA) ของสถานีเชียงใหม (CM) อุบลราชธานี (UB) นครปฐม (NP) และสงขลา (SK) 60 3.32 แสดงกราฟความสัมพันธระหวางอัตราสวนความเขมรังสีกระจายตอรังสีรวม

รายวันเฉลี่ยตอเดือน (Hd /H) กับสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศ และพื้นผิวโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน (ρEA) ของสถานี (a) เชียงใหม

(b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 61 3.33 แสดงการเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางอัตราสวนความเขมรังสีกระจาย

ตอรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน (Hd /H) กับสัมประสิทธิ์การสะทอน ของบรรยากาศและพื้นผิวโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน (ρEA) ของสถานีเชียงใหม

(CM) อุบลราชธานี (UB) นครปฐม (NP) และสงขลา (SK) 62 3.34 แสดงการเปรียบเทียบความเขมรังสีกระจายรายชั่วโมงที่ไดจากการวัดและการคํานวณ

จากคาสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศและพื้นผิวโลกรายชั่วโมง

ของสถานี (a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 64 3.35 แสดงการเปรียบเทียบความเขมรังสีกระจายรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนที่ไดจากการวัด

และการคํานวณจากคาสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศและพื้นผิวโลก

(19)

รูปที่ หนา

ของสถานี (a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 66 3.36 แสดงการเปรียบเทียบความเขมรังสีกระจายรายวันที่ไดจากการวัดและการคํานวณ

จากคาสัมประสิทธิ์การสะทอนของบรรยากาศและพื้นผิวโลกรายวัน

ของสถานี (a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 69 3.37 แสดงการเปรียบเทียบความเขมรังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือนที่ไดจากการวัด

และจากการคํานวณของสถานี (a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม

และ (d) สงขลา 71

3.38 แสดงกราฟความสัมพันธระหวางอัตราสวนความเขมรังสีกระจายตอรังสีรวม รายชั่วโมง (Id/I) กับดัชนีเมฆรายชั่วโมง (n) ของสถานี (a) เชียงใหม

(b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 73 3.39 แสดงการเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางอัตราสวนความเขมรังสีกระจาย

ตอรังสีรวมรายชั่วโมง (Id /I) กับดัชนีเมฆรายชั่วโมง (n) ของสถานี

เชียงใหม (CM) อุบลราชธานี (UB) นครปฐม (NP) และสงขลา (SK) 75 3.40 แสดงกราฟความสัมพันธระหวางคาเฉลี่ยของอัตราสวนความเขมรังสีกระจาย

ตอรังสีรวมรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน (Id /I) กับดัชนีเมฆรายชั่วโมง เฉลี่ยตอเดือน (n) ของสถานี (a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม

และ (d) สงขลา 76

3.41 แสดงการเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางอัตราสวนความเขมรังสีกระจาย ตอรังสีรวมรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน (Id /I) กับดัชนีเมฆรายชั่วโมง เฉลี่ยตอเดือน(n) ของสถานีเชียงใหม (CM) อุบลราชธานี (UB)

นครปฐม (NP) และสงขลา (SK) 77

3.42 แสดงกราฟความสัมพันธระหวางอัตราสวนความเขมรังสีกระจายตอรังสีรวม รายวัน (Hd/H) กับดัชนีเมฆรายวัน(n) ของสถานี (a) เชียงใหม

(b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 78 3.43 แสดงการเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางอัตราสวนความเขมรังสีกระจาย

ตอรังสีรวมรายวัน (Hd/H) กับดัชนีเมฆรายวัน (n) ของเชียงใหม (CM)

อุบลราชธานี (UB) นครปฐม (NP) และสงขลา (SK) 79 3.44 แสดงกราฟความสัมพันธระหวางอัตราสวนความเขมรังสีกระจายตอรังสีรวม

รายวันเฉลี่ยตอเดือน (Hd /H) กับดัชนีเมฆรายวันเฉลี่ยตอเดือน (n)

(20)

รูปที่ หนา

ของสถานี (a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 80 3.45 แสดงการเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางอัตราสวนความเขมรังสีกระจาย

ตอรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน(Hd /H) กับดัชนีเมฆรายวัน เฉลี่ยตอเดือน (n) ของสถานีเชียงใหม (CM) อุบลราชธานี (UB)

นครปฐม (NP) และสงขลา (SK) 81

3.46 แสดงการเปรียบเทียบความเขมรังสีกระจายรายชั่วโมงที่ไดจากการวัดและจากการ คํานวณจากคาดัชนีเมฆรายชั่วโมง ของสถานี (a) เชียงใหม

(b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 83 3.47 แสดงการเปรียบเทียบความเขมรังสีกระจายรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนที่ไดจากการวัด

และการคํานวณจากคาดัชนีเมฆรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน ของสถานี

(a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 84 3.48 แสดงการเปรียบเทียบความเขมรังสีกระจายรายวันที่ไดจากการวัดและการคํานวณ

จากคาดัชนีเมฆรายวัน ของสถานี (a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี

(c) นครปฐม และ (d) สงขลา 86

3.49 แสดงการเปรียบเทียบความเขมรังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือนที่ไดจากการวัด และการคํานวณจากคาดัชนีเมฆรายวันเฉลี่ยตอเดือน ของสถานี (a) เชียงใหม

(b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 87 3.50 แสดงความสัมพันธระหวางอัตราสวนรังสีกระจายตอรังสีรวมรายชั่วโมง (Id/I)

กับดัชนีความใสของบรรยากาศรายชั่วโมง (Kt) ของสถานี (a) เชียงใหม

(b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 90 3.51 แสดงการเปรียบเทียบสมการแบบจําลองสําหรับคํานวณรังสีกระจายรายชั่วโมง

(Id/I) จากการ regression ขอมูลดัชนีความใสของบรรยากาศรายชั่วโมง (Kt) ของทั้ง 4 สถานีคือ เชียงใหม (CM) อุบลราชธานี (UB) นครปฐม (NP)

และสงขลา (SK) 92

3.52 แสดงผลการเปรียบเทียบระหวางคาความเขมรังสีกระจายรายชั่วโมงที่ไดจากการวัด และการคํานวณจากดัชนีความใสของบรรยากาศรายชั่วโมง ของสถานี

(a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 93 3.53 แสดงความสัมพันธระหวางคา Id/I กับ Kt ที่คํานวณจากสมการแบบจําลองตางๆ

เมื่อเปรียบเทียบกับคาที่คํานวณจากแบบจําลองของสถานี (a) สถานีเชียงใหม

(21)

รูปที่ หนา

(b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 96 3.54 แสดงความสัมพันธของอัตราสวนรังสีกระจายตอรังสีรวมรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน

(Id /I) กับดัชนีความใสของบรรยากาศรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน (Kt)

ของสถานี (a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 98 3.55 แสดงการเปรียบเทียบความสัมพันธของอัตราสวนรังสีกระจายตอรังสีรวม

รายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน (Id /I) กับดัชนีความใสของบรรยากาศ รายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน (Kt) ของสถานีเชียงใหม (CM)

อุบลราชธานี (UB) นครปฐม (NP) และสงขลา (SK) 99 3.56 แสดงผลการเปรียบเทียบระหวางคาความเขมรังสีกระจายรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน

ที่ไดจากการวัดและการคํานวณจากคาดัชนีเมฆรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน ของสถานี (a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 100 3.57 แสดงความสัมพันธระหวางอัตราสวนรังสีกระจายตอรังสีรวมรายวัน (Hd/H)

กับดัชนีความ ใสของบรรยากาศรายวัน (KT) ของสถานี (a) เชียงใหม

(b) อุบลราชธานี (c) นครปฐมและ (d) สงขลา 102 3.58 แสดงความสัมพันธระหวางคาเฉลี่ยของอัตราสวนรังสีกระจายตอรังสีรวมรายวัน

(Hd/H) กับ ดัชนีความใสของบรรยากาศรายวัน (KT) ที่ไดจากขอมูล สถานีเชียงใหม (CM) อุบลราชธานี (UB) นครปฐม (NP)

และสงขลา (SK) 103

3.59 แสดงผลการเปรียบเทียบระหวางคาความเขมรังสีกระจายรายวันจากการวัด กับการคํานวณจากคาดัชนีความใสของบรรยากาศรายวัน ของสถานี

(a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 105 3.60 แสดงความสัมพันธระหวางคาเฉลี่ยของอัตราสวนรังสีกระจายตอรังสีรวมรายวัน

เฉลี่ยตอเดือน (Hd /H) กับดัชนีความใสของบรรยากาศรายวัน เฉลี่ยตอเดือน (KT) ที่ไดจากขอมูลสถานี (a) เชียงใหม

(b) อุบลราชธานี (c) นครปฐม และ (d) สงขลา 109 3.61 แสดงการเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางคาเฉลี่ยของอัตราสวนรังสีกระจาย

ตอรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน(Hd/H) กับดัชนีความใสของบรรยากาศ รายวันเฉลี่ยตอเดือน (KT) ของสถานีเชียงใหม (CM) อุบลราชธานี (UB) นครปฐม (NP) และสงขลา (SK)ศูนยสูตร 110

(22)

รูปที่ หนา

3.62 แสดงผลการเปรียบเทียบระหวางคาความเขมรังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือน จากการวัดกับ คาจากการคํานวณของสถานี (a) เชียงใหม (b) อุบลราชธานี

(c) นครปฐม และ (d) สงขลา 111 3.63 แสดงชนิดของ aerosol ที่สถานีวัดเชียงใหม นครปฐม และสงขลา 115 3.64 แสดงคา single scattering albedo ของสถานีเชียงใหม นครปฐม และสงขลา 116 4.1 แสดงที่ตั้งเครือขายสถานีวัดความเขมรังสีดวงอาทิตยสําหรับประเทศไทย

จํานวน 37 แหงสูตร 118

4.2 แสดงการเจาะพื้นเพื่อตั้งเสาสูงประมาณ 1 เมตร ในตําแหนงที่กําหนด 121 4.3 แสดงการติดตั้งเสาและเครื่องวัด 121 4.4 แสดงการโยงสายสัญญาณในทอพีวีซีจากเครื่องวัดไปยังภายในตัวอาคาร 122 4.5 แสดงเครื่องวัดที่สถานีตรวจอากาศรอยเอ็ด ซึ่งติดตั้งเสร็จเรียบรอย

เมื่อเดือนมีนาคม 2549 122

4.6 การอธิบายขั้นตอนการบันทึกขอมูลและการดูแลอุปกรณการวัดแกเจาหนาที่

ประจําสถานี 123

4.7 แสดงไพราโนมิเตอรของ Kipp&Zonen รุน CM11 ที่สถานีอุตุนิยมวิทยา

นครสวรรค 124

4.8 แสดงเครื่องบันทึกขอมูล (data logger) ของ Yokogawa model DC 100 124 4.9 แสดงเครื่องวัดที่สถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค ซึ่งผูวิจัยและเจาหนาที่

ของหองปฏิบัติการฯไดดําเนินการติดตั้งเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2549 125 4.10 แสดงอาคารที่ติดตั้งเครื่องวัดของสถานีอุตุนิยมวิทยาแมสะเรียง จ. แมฮองสอน

ซึ่งผูวิจัยและเจาหนาที่ของหองปฏิบัติการฯ เดินทางไปสอบเทียบเครื่องวัด

เมื่อเดือนมกราคม 2550 126

4.11 แสดงอาคารที่ติดตั้งเครื่องวัดของโครงการโรงไฟฟาพลังน้ําแมสงา อ. เมือง จ. แมฮองสอน ซึ่งผูวิจัยและเจาหนาที่ของหองปฏิบัติการฯ เดินทาง ไปเปลี่ยนเครื่องสํารองไฟและของอุปกรณวัดและบันทึกขอมูล

เมื่อเดือนมกราคม 2550 126

4.12 แสดงเสาสูงที่ติดตั้งเครื่องวัดที่ศูนยควบคุมและรายงานดอยอินทนนท

กองทัพอากาศ ซึ่งผูวิจัยและเจาหนาที่ของหองปฏิบัติการฯ เดินทาง ไปตรวจสอบการทํางานของอุปกรณวัดและบันทึกขอมูล

Referensi

Dokumen terkait

ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ ในพิธีเปดการประชุมบุหรี่กับสุขภาพแหงชาติ ครั้งที่ 9 เรื่อง “เพศกับบุหรี่ : จุดเนนการตลาดในผูหญิง” วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2553 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด