• Tidak ada hasil yang ditemukan

พัฒนาและศึกษาประสิทธิผล โปรแกรมพัฒนาแรงจูงใจและการ ตั้งเป้าหมายต่อความยึดมั่นผูกพัน ในการเรียนรู้ ของพนักงานขายใน สถาบันการเงินในไทย

พัฒนารูปแบบสมการโครงสร้างของ ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความยึดมั่น ผูกพันในการเรียนรู้ของพนักงานขาย ในสถาบันการเงินในไทย

พัฒนาตัวบ่งชีความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ ของพนักงานขายในสถาบันการเงินในไทย โดยใช้การเสริมแรงจูงใจให้กับพนักงานขายจากการตั้งเป้าหมาย

1.ศึกษาแนวคิดความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้

2.ศึกษาแนวคิดทฤษฎี Self Determination Theory

3.ศึกษาแนวคิดทฤษฎีการก าหนดเป้าหมาย (Locke & Latham)

บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย

การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาแรงจูงใจและการตั้งเป้าหมายต่อความยึดมั่นผูกพันในการ เรียนรู้ของพนักงานขายในสถาบันการเงินในไทย มีจุดมุ่งหมายของการวิจัยศึกษาตัวบ่งชี้และ พัฒนาแบบวัดความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ของพนักงานขายในสถาบันการเงินในไทย และท า การตรวจสอบอีกครั้งด้วยสมการโครงสร้างของตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความยึดมั่นผูกพันในการ เรียนรู้ของพนักงานขายในสถาบันการเงินในไทย ก่อนที่จะพัฒนาโปรแกรมและศึกษาประสิทธิผล พัฒนาแรงจูงใจและการตั้งเป้าหมายต่อความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ของพนักงานขายใน สถาบันการเงินในไทยต่อไปขั้นตอนการด าเนินการวิจัยมีรายละเอียดดังนี้

ขั้นตอนที่1 การพัฒนาตัวบ่งชี้และแบบวัดความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ของพนักงาน ขายในสถาบันการเงินในไทย โดยใช้การเสริมแรงจูงใจผ่านการตั้งเป้าหมาย

มีหัวข้อวิธีการด าเนินการวิจัย ได้แก่ ประชากร กลุ่มตัวอย่าง ตัวแปรในการวิจัย เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย การสร้างและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วิธีการและขั้นตอนการเก็บรวบรวม ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การน าเสนอข้อมูล โดยมีรายละเอียดการด าเนินการวิจัยในขั้นตอนที่ 1 รายละเอียดดังนี้

1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

1.1 ประชากร ได้แก่ พนักงานฝ่ายงานขาย ในสถาบันการเงินที่มีประสบการณ์

ท างาน ไม่น้อยกว่า 3 ปี (ระหว่าง 1 มิถุนายน 2560- ปัจจุบัน)

1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พนักงานฝ่ายงานขาย ในสถาบันการเงินที่มีประสบการณ์

ท างาน ไม่น้อยกว่า 3 ปี (ระหว่าง 1 มิถุนายน 2560- ปัจจุบัน) ในสถาบันการเงินจ านวน 400 คน โดยใช้เกณฑ์การก าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างเนื่องจากไม่ทราบจ านวนประชากรที่แน่นอน ดังนั้น ขนาด ตัวอย่างสามารถค านวณได้จากสูตรไม่ทราบขนาดตัวอย่างของ W.G. Cochranโดยก าหนด ระดับค่า ความเชื่อมันร้อยละ 95 และระดับค่าความคลาดเคลื่อนร้อยละ 5 (วานิชย์บัญชา, 2549) ซึ่งสูตรในการค านวณที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ

สูตร n = P(1 -P)Z2 E2

เมื่อ n แทน ขนาดตัวอย่าง

P แทน สัดส่วนของประชากรที่ผู้วิจัยก าลังสุ่ม.50

Z แทน ระดับความเชื่อมันที่ผู้วิจัยก าหนดไว้ Z แทน มีค่าเท่ากับ 1.96 ที่ระดับความ เชื่อมั่น ร้อยละ95(ระดับ .05)

E แทน ค่าความผิดพลาดสูงสุดที่เกิดขึ้น = .05 แทนค่า n = (.05)(1 - .5)(1.96)2

(.05)2

= 384.16

ใช้ขนาดตัวอย่างอย่างน้อย 384 คน จึงจะสามารถประมาณค่าร้อยละ โดยมีความ ผิดพลาด ไม่เกินร้อยละ 5 ที่ระดับความเชื่อมันร้อยละ 95 เพื่อความสะดวกในการประเมินผล และ การวิเคราะห์ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลซึ่งถือได้ว่าผ่านเกณฑ์ตามที่เงื่อนไขก าหนด คือไม่น้อย กว่า 384 ตัวอย่าง และเพื่อป้องกันความผิดพลาดในการตอบกลับผู้วิจัยจึงเก็บเพิ่มเป็นจ านวน 400 ตัวอย่างและได้รับกลับมาทั้งหมด

2. ขอบเขตด้านตัวแปร

2.1 ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ ของพนักงาน ขายในสถาบันการเงินในไทย ประกอบด้วย 3 ด้าน ความยึดมั่นผูกพันเชิงการรู้คิด ความยึดมั่น ผูกพันเชิงอารมณ์ ความยึดมั่นผูกพันเชิงพฤติกรรม โดยมีรายละเอียดดังนี้

ความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ของพนักงานขาย หมายถึง คุณลักษณะของ พนักงานขายเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการเรียน กิจกรรมการเรียนรู้ และเห็นความส าคัญของการ เรียนรู้ ประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ 1. ความยึดมั่นผูกพันเชิงการรู้คิด (Cognitive engagement) 2.

ความยึดมั่นผูกพันเชิงอารมณ์ (Emotional engagement) 3. ความยึดมั่นผูกพันเชิงพฤติกรรม (Behavioral engagement)

2.1.1 ความยึดมั่นผูกพันเชิงการรู้คิด หมายถึง พนักงานแสดงออกถึงความ ยึดมั่นผูกพันเชิงการรู้คิด โดยการมีส่วนร่วมโดยแสดงความรู้ความเข้าใจคิดอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงออกเชิงสะท้อนเชิงลึกบนทักษะการแก้ปัญหาที่เป็นจริง การใช้ทรัพยากร เช่น การใช้

คอมพิวเตอร์ หรือเข้าถึงข้อมูลที่หน่วยงานตรียมไว้และพยายามในเรียนรู้ในกระบวนการเรียนรู้

ส าหรับกิจกรรมการขายและเพื่อประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวม สะท้อนความพยายามและแสดง พลังทางปัญญาที่สะท้อนถึงทุ่มเทให้กับการเรียนรู้จากข้อมูลส่งเสริมด้านการขาย การเรียนรู้และ

เชื่อมโยงกับความรู้ที่มีอยู่ต่อส่วนรวม แสดงถึงกระบวนการภายในของพลังงานความคิดและเต็ม ใจที่จะเข้าใจความคิด แสดงถึงการมีส่วนร่วมในงานที่ใช้ความพยายามด้วยความตั้งใจและการใช้

กลยุทธ์การลงทุนทางปัญญาในการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมในอภิปัญญาและการเรียนรู้ด้วย ตนเอง แสดงถึงความพยายามในการเรียนรู้เพื่อท าความเข้าใจและฝึกฝนความรู้และทักษะที่ตั้งใจ ไว้

2.1.2 ความยึดมั่นผูกพันเชิงอารมณ์ หมายถึงพนักงานมีความยึดมั่นผูกพันเชิง อารมณ์โดยแสดงความกระตือรือร้น เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ภายในองค์กรมาก ความ สนใจกับการเรียนรู้หรือความพยายามอย่างต่อเนื่องในการท ากิจกรรม หรือท าในสิ่งที่ท้าทาย สามารถเชื่อมโยงปฏิกิริยาเชิงบวกและเชิงลบต่อผู้บุคคลอื่นเช่น หัวหน้างาน เพื่อนร่วมงาน และ ลูกค้า แสดงถึงทัศนคติความสัมพันธ์ต่อผู้อื่นและเนื้อหาในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ แสดงความ เชื่อทั้งในเชิงบวกหรือเชิงลบ

2.1.3 ความยึดมั่นผูกพันเชิงพฤติกรรม หมายถึง พนักงานมีความยึดมั่นผูกพัน เชิงพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการเรียนรู้ การเข้าสังคม และการร่วมกิจกรรมนอกหลักสูตรฝึกอบรม แสดงความพยายามถึงการเรียนรู้กิจกรรมเพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวม มีความ พากเพียรความพยายามความเอาใจใส่ มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมวิชาการและนอกหลักสูตร มีความยึดมั่นผูกพันเชิงพฤติกรรมโดยแสดงออกการกระท าทางกายภาพ เช่น การมีส่วนร่วมใน เนื้อหา มีความยึดมั่นผูกพันเชิงพฤติกรรมที่แสดงความเข้มแข็งทางการเรียนรู้ และกระตือรือร้นที่

สามารถปรับตัวและเผชิญกับสิ่งที่ก่อให้เกิดความเครียด ความท้าทายต่างๆ และความล้มเหลว ทางการเรียนรู้ได้

3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในส่วนนี้ เป็นแบบวัดความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ ของ พนักงานขายในสถาบันการเงินในไทย มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 7 ระดับ แบ่ง ออกเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นแบบตรวจสอบรายการมี

วัตถุประสงค์เพื่อส ารวจข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ ต าแหน่งงาน อายุ

งาน ระดับการศึกษา และรายได้ จ านวน 6 ข้อ

ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความคิดเห็น มีลักษณะเป็นแบบมาตรา ส่วนประมาณค่า 7 ระดับ มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดระดับความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ โดยมีเกณฑ์

การให้คะแนนส าหรับข้อมาตรวัดดังนี้

1 หมายถึง ตรงกับระดับความคิดเห็น ระดับน้อยที่สุด 2 หมายถึง ตรงกับระดับความคิดเห็น ในระดับน้อย

3 หมายถึง ตรงกับระดับความคิดเห็น ในระดับค่อนข้างน้อย 4 หมายถึง ตรงกับระดับความคิดเห็น ในระดับปานกลาง 5 หมายถึง ตรงกับระดับความคิดเห็น ในระดับค่อนข้างมาก 6 หมายถึง ตรงกับระดับความคิดเห็น ในระดับมาก

7 หมายถึง ตรงกับระดับความคิดเห็น ระดับมากที่สุด

การแปลความหมายคะแนนเฉลี่ยของความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้มีลักษณะเป็น ช่วงคะแนน 5 ช่วงโดยแต่ละช่วงมีคะแนนความหมายดังนี้

6.50-7.00 หมายถึง พนักงานขายมีความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ระดับมากที่สุด 5.50-6.49 หมายถึง พนักงานขายมีความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ระดับมาก 4.50-5.49 หมายถึง พนักงานขายมีความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ระดับ ค่อนข้างมาก

3.50-4.49 หมายถึง พนักงานขายมีความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ระดับปานกลาง 2.50-3.49 หมายถึง พนักงานขายมีความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ระดับค่อนข้าง น้อย

1.50-2.49 หมายถึง พนักงานขายมีความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ระดับน้อย 1.00-1.49 หมายถึง พนักงานขายมีความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ระดับน้อยที่สุด

มาตรวัดความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้

ตอนที่1.ข้อมูลทั่วไปของพนักงานขายสถาบันการเงิน ท าเครื่องหมายที่ตรงกับท่านมากที่สุด 1) ชาย หญิง

2) อายุ...ปี

3) ประสบการณ์ท างาน...ปี

4) ต าแหน่งงาน...

มาตรวัดความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ของพนักงานขายในสถาบันการเงินในไทย ตอนที่2 ข้อมูลการวิเคราะห์ตัวบ่งชี้คุณลักษณะความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้ ของพนักงาน ขายในสถาบันการเงินในไทย จากการพัฒนาแรงจูงใจและการตั้งเป้าหมาย

ค าชี้แจง กรุณาท าเครื่องหมาย √ ลงใน ตามความเป็นจริง โดยพิจารณาเลือกเพียงค าตอบ เดียว

ระดับความคิดเห็น

7 หมายถึง เห็นด้วยมากที่สุด 6 หมายถึง เห็นด้วยมาก

5 หมายถึง เห็นด้วยค่อนข้างมาก 4 หมายถึง เห็นด้วยปานกลาง 3 หมายถึง เห็นด้วยค่อนข้างน้อย 2 หมายถึง เห็นด้วยน้อย

1 หมายถึง เห็นด้วยน้อยที่สุด ข้อ ความยึดมั่นผูกพันในการเรียนรู้

ระดับความคิดเห็น

7 6 5 4 3 2 1

1 ท่านแสดงความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียน 2 ท่านใช้ความรู้ที่ได้เรียนรู้ในการแก้ปัญหาใน

ชีวิตจริง

3 ท่านสามารถตั้งค าถามและตอบค าถามเชิง เหตุผลเกี่ยวกับงาน

4 ท่านสามารถจ าแนกสิ่งที่มีความจ าเป็นและ ไม่จ าเป็นในการท างาน