• Tidak ada hasil yang ditemukan

ตัวแปร ลักษณะ

เพศ (Gender)

Unisex อายุ

(Age)

20-40 สถาณะทางสังคม

(Economic Status)

ชนชั้นกลาง (Middle Class)

เงินเดือน (Salary)

มากกว่า 18,000 บาทขึ้นไป

อาชีพ (Occupation)

พนักงานทั่วไป นักออกแบบ ศิลปิน กลุ่ม ผู้บริโภคที่ชอบงานประดิษฐ์ งานจากชาวบ้าน งานท้องถิ่นภูมิปัญญา

ที่อยู่อาศัย (Demographic)

ประเทศไทย

รูปแบบการใช้ชีวิต (Lifestyle)

กลุ่มคนที่ชื่นชอบการท่องเที่ยวและศึกษา เกี่ยวกับงานหัตถกรรม ชอบความทนทานวัสดุ

อาจท าจากธรรมชาติซึ่งดูแล้วมีมูลค่าได้ ใช้จ่าย ซื้อของประเภทเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม สินค้า ต้องมีเอกลักาณ์

งานอดิเรก (Hobbies)

ชอบท่องเที่ยว สะสมของฝาก ประดิดประดอย

ลักษณะการซื้อสินค้า (Consumer Habits)

มีเรื่องราวในตัวงาน ได้ช่วยเหลือชุมชน มักซื้อ ใช้เองหรือซื้อเป็นของฝาก รูปแบบต้องมีความ สวยงาม และคุณภาพของสินค้าต้องดี

การเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์กับแบรนด์สินค้า

1. Chaksarn แบรนด์กระเป๋า จักสานจากเสื่อกก แบรนด์เสื่อกกลายขิต ใช้เสื่อกก จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มาพัฒนาเป็นกระเป๋าแฟชั่นร่วมสมัย ท าให้เกิดกระเป๋าแฟชั่นที่ท า มาจากเสื่อกกของชาวบ้านแถบภาคตะวันออกฉียงเหนือของไทย

ภาพประกอบ 54 Chaksarn ที่มา : https://web.facebook.com/chatsran

2. SranSrad Chaksarn แบรนด์กระเป๋า จักสานจากเตยปาหนัน ใช้เตยปาหนันจาก ภาคใต้ มาพัฒนาเป็นกระเป๋าชั่นร่วมสมัย ท าให้เกิดกระเป๋าแฟชั่นที่มีความผสมผสานกับงานหนัง ซึ่งเป็นแบรนด์ที่มีโอกาสท างานร่วมกับชาวบ้านในพื้นที่ เป็นแบรนด์ที่มีส่วนช่วยเหลือสังคมและ ผลิตกระเป๋าที่ร่วมมัยออกมา

ภาพประกอบ 55 SranSrad

ที่มา : https://www.tatcontactcenter.com/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%

E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B9%88/%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0

%B8%9B

การก าหนดต าแหน่งการตลาด

1. กราฟการเปรียบเทียบด้านความหลากหลายของรูปแบบต่อความงามหรือการใช้

งาน โดยต าแหน่งของเครื่องตกแต่งแฟชั่น จากเสื่อกกจันทบูร ผสานลายพิมพ์ดิจิตอล อยู่ใน ต าแหน่งการใช้งานที่มีรูปแบบหลากหลาย เนื่องจากวัสดุมีการผสมผสานเทคนิคการทอรูปแบบ ใหม่จึงจัดอยู่ในต าแหน่งรูปแบบที่มีความหลากหลาย

ภาพประกอบ 56 กราฟต าแหน่งการตลาด 1 ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

2. กราฟการเปรียบเทียบด้านความหลากหลายของรูปแบบต่อความงามหรือการใช้

งาน โดยต าแหน่งของเครื่องตกแต่งแฟชั่น จากเสื่อกกจันทบูร ผสานลายพิมพ์ดิจิตอล อยู่ใน ต าแหน่งการใช้งานที่เน้นด้านการท าเพื่อสังคมมากและผู้บริโภคระดับทั่วไป เพื่อที่ให้ผู้บริโภคมาก ขึ้นจึงเน้นกลุ่มนี้เป็นหลัก การบริโภคมากส่งผลให้เกิดการตอบแทนสู่สังคมที่มากขึ้นตามและ การท า CRS ท าให้เกิดการตอบแทนสู่ชุมชน และสังคมตามมา

ภาพประกอบ 57 กราฟต าแหน่งการตลาด 2 ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

3. กราฟการเปรียบเทียบด้านคุณภาพและราคา โดยต าแหน่งของเครื่องตกแต่ง แฟชั่น จากเสื่อกกจันทบูร ผสานลายพิมพ์ดิจิตอลอยู่ในต าแหน่งที่มีคุณภาพสูงเพราะท าจากวัสดุ

และแปรรูปอย่างมีคุณภาพ จึงมีราคาวัตุดิบที่สูงรายได้มีการส่งเสริมให้ชุมชน

ภาพประกอบ 58 กราฟต าแหน่งการตลาด 3 ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

4. กราฟการเปรียบเทียบด้านการสร้างมูลค่าเพิ่มและปริมาณสินค้า โดยต าแหน่ง ของเครื่องตกแต่งแฟชั่น จากเสื่อกกจันทบูร ผสานลายพิมพ์ดิจิตอลอยู่ในต าแหน่งที่มีการสร้าง มูลค่าเพิ่มเนื่องจากมีการพัฒนาในการผสมผสานรูปแบบจากวัสดุอื่น ๆ และยังท าให้เกิดการผลิต เครื่องตกแต่งแฟชั่นเพิ่มากขึ้นตาม

ภาพประกอบ 59 กราฟต าแหน่งการตลาด 4 ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

หมายเหตุ : เครื่องหมาย  คือต าแหน่งเครื่องตกแต่งแฟชั่น จากเสื่อกกจันทบูร ผสาน ลายพิมพ์ดิจิตอล

การสร้างข้อก าหนดในการออกแบบวิเคราะห์ผลจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ สร้างข้อก าหนดในการออกแบบโดยการสร้างแบบสอบสัมภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญใน 2 ประเด็น คือ 1. การออกแบบลายพิมพ์ 2. การออกแบบต้นแบบเครื่องตกแต่งแฟชั่น 3. วิเคราะห์

กลุ่มเป้าหมายของเครื่องตกแต่งแฟชั่นจากเสื่อกก ในประเด็นต่าง ๆ โดยใช้แบบสัมภาษณ์

ชุดเดียวกัน จากการสัมภาษณ์สามารถอธิบายผลได้เป็นตารางดังนี้