• Tidak ada hasil yang ditemukan

การเลือกแบบสเก็ตโดยผู้เชี่ยวชาญ

ภาพประกอบ 70 คอลเลคชั่นเครื่องตกแต่งแฟชั่น รูปแบบที่ 5 ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

การคัดเลือกรูปแบบสเก็ตส าหรับผลิตต้นแบบ ผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามในการ คัดเลือก เครื่องตกแต่งแฟชั่นผสานลายพิมพ์ดิจิตอล โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบเครื่อง ตกแต่งแฟชั่น, ด้านการออกแบบลายพิมพ์, ด้านการตลาด จ านวน 3 ท่าน สามารถสรุปผลการ ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญได้ดังนี้

การผลิตต้นแบบ

จากการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามเลือกแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ ผู้วิจัยจึงได้

เลือก คอลเลคชั่นที่ 4 มาพัฒนาต่อเพื่อออกแบบเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มีความเหมาะสมต่อการ ผลิต ยิ่งขึ้น โดยได้พัฒนาสู่รูปแบบดังนี้

ภาพประกอบ 71 รูปแบบเครื่องตกแต่งแฟชั่นส าหรับผลิตต้นแบบ ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

กระบวนการผลิตต้นแบบ

1. ผลิตเสื่อกกผสมวัสดุอื่นโดยเลือกใช้เส้นกกจันทบูรที่มีขนาดเล็กทอโดยใช้เส้น ปอเป็นเส้นยืนจากนั้นใช้กก และวัสดุที่ใช้ได้แก่ไหมพรม และเชือกหนัง

ภาพประกอบ 72 การผลิตเสื่อกกผสมวัสดุอื่น ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

2. เก็บริมเสื่อกกให้เรียบร้อยเพื่อไม่ให้เกิดการหลุดออกจากกันของเสื่อกกที่ทอ ส าเร็จเป็นผืนแล้ว

ภาพประกอบ 73 เสื่อกกที่ถูกเก็บริมแล้ว ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

3. น าเสื่อที่ไม่มีการทอรวมกับวัสดุอื่นมาท าการพิมพ์ลายดิจิตอลโดยใช้เทคนิค ถ่ายโอนความร้อนโดยผ่านกระดาษทรานเฟอร์

ภาพประกอบ 74 เสื่อที่ถูกพิมพ์ลายดิจิตอลด้วยเทคนิคถ่ายโอนความร้อน ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

4. น าเสื่อที่ถูกเก็บริมและที่ถูกพิมพ์ดิจิตอลแล้วมาจับคู่กับวัสดุอื่น ๆ เพื่อท าการ ขั้นตัวอย่าง

5. น าวัสดุที่ใช้ในการขึ้นตัวอย่างมาตัดตามแพทเทิร์นของรูปแบบต้นแบบเครื่อง ตกแต่งแฟชั่น

ภาพประกอบ 75 การน าวัสดุต่าง ๆ มาตัดตามแพทเทิร์นส าหรับขึ้นตัวอย่าง ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

6. เตรียมชิ้นส่วนต่าง ๆ ของต้นแบบผลิตภัณฑ์เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนการขึ้นตัวอย่าง โดยจักรอุตสาหกรรม

ภาพประกอบ 76 การเย็บแปรรูปต้นแบบเครื่องตกแต่งแฟชั่น ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

7. เก็บรายละเอียดต่าง ๆ ของต้นแบบเครื่องตกแต่งแฟชั่น

ภาพประกอบ 77 การเก็บรายละเอียดต่าง ๆ ของต้นแบบเครื่องตกแต่งแฟชั่น ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

หลักการน าเสนอต้นแบบเครื่องตกแต่งแฟชั่นกับผู้เชี่ยวชาญอีกครั้งได้รับข้อเสนอแนะ เพิ่มเติมดังนี้

1. ควรเพิ่มเส้นใยโพลีเอสเตอร์สีขาวในเปอร์เซ็นต์การทอ 70:30 โดยใช้เส้นใย โพลีเอสเตอร์ 70 เปอร์เซ็นต์ และกกอีก 30 เปอร์เซ็นต์

2. ท าต้นแบบกระเป๋าเพิ่มปีกจ านวน 2 ใบ เป็นกระเป๋าทรง TOTE และกระเป๋า ใส่ธนาบัติ

3. ควรเพิ่มลายพิมพ์ให้เห็นได้ชัดและมากกว่าตัวต้นแบบเพื่อให้สอดคล้องกับ หัวข้อวิจัย

จากการผลิตต้นแบบเครื่องตกแต่งแฟชั่นผู้วิจัยได้ใช้เสื่อกกที่ทอรวมกับวัสดุ เชือกปอ ไหมพรม และเชือกหนัง ส่วนลวดลายใช้เทคนิคการพิมพ์ดิจิตอลโดยใช้การถ่ายโอนความร้อน ผสม กับการตัดเย็บโดยมีองค์ประกอบส่วนตกแต่งด้วยหนังสัตว์และอุปกรณ์ตกแต่งอื่น ๆ การผลิตผู้วิจัย ใช้จักรอุตสาหกรรมในการเย็บขึ้นต้นแบบซึ่งพบว่าสามารถผลิตและใช้งานได้จริงและได้ท าการ ผลิตต้นแบบเพิ่มเติมตามค าแนะน าของผู้เชี่ยวชาญ

ถ่ายแบบต้นแบบเครื่องตกแต่งแฟชั่น

ภาพประกอบ 78 กระเป๋าใส่ธนาบัติ รูปแบบที่1 ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

ภาพประกอบ 79 กระเป๋าใส่ธนาบัตรผสานลายพิมพ์ดิจิตอล รูปแบบที่2 ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

ภาพประกอบ 80 กระเป๋าทรง Backet Bag รูปแบบที่ 1 ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

ภาพประกอบ 81 กระเป๋าทรง Backet Bag ผสานลายพิมพ์ดิจิตอล รูปแบบที่ 2 ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

ภาพประกอบ 82 กระเป๋าทรง Tote ผสานลายพิมพ์ดิจิตอล ด้านข้าง รูปแบบที่ 1 ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

ภาพประกอบ 83 กระเป๋าทรง Tote ผสานลายพิมพ์ดิจิตอล หน้า-หลัง รูปแบบที่ 2 ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

ภาพประกอบ 84 กระเป๋าทรง Backpack ผสานลายพิมพ์ดิจิตอล ที่มา : ภัทรชัย พันธ์พาณิช

ต้นทุนการผลิตเครื่องตกแต่งแฟชั่นจากเสื่อกกจันทบูร ผสานเทคนิคการพิมพ์

ดิจิตอล

ในการวิจัยผู้วิจัยได้ขึ้นตัวอย่างจ านวน 5 รูปแบบ โดยผลิตจากชุมชนเสม็ดงาม ท าให้สามารถค านวนต้นทุนในการผลิตได้ดังนี้

เส้นกกธรรมชาติ 1 กิโลกรัมราคา 300 บาทสามารถผลิตเสื่อในความยาว 3 หลา ไหมพรม 1 ม้วนราคา 25บาท เชือกปอ 130 บาท และเชือกหนัง 80 บาท ต่อม้วน ท าให้การ ใช้เสื่อกกทอรวมกับวัสดุอื่น 1 ตารางเมตรใช้ต้นทุนประมาณ 210 บาท จากราคาต้นทนของวัสดุ

ที่ใช้ในการผลิตต้นแบบเครื่องตกแต่งแฟชั่น 1 รูปแบบ มีต้นทุนประมาณ 210 บาท เมื่อรวมกับค่า เย็บกระเป๋าและค่าแรงในการผลิต 1 ใบราคา 1,200 บาท จึงได้ราคาเฉลี่ยต้นทุนของเครื่องตกแต่ง แฟชั่น 1 รูปแบบ

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจที่มีต่อผลิตภัณฑ์ต้นแบบ

วิเคราะห์ประเมินผลความพึงพอใจจากผู้บริโภคที่มีต่อต้นแบบเครื่องตกแต่งแฟชั่น จาก เสื่อกกจันทบูร ผสานลายพิมพ์ดิจิตอลโดยผู้บริโภคทั่วไปจ านวน 100 คน ผู้วิจัยได้ส ารวจความ คิดเห็นผู้บริโภค ในเกณฑ์ด้านการผลิต, การออกแบบ, การใช้สอยและการตลาด โดยแบบประเมิน ความพึงพอใจ และข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม, การประเมินความพึงพอใจที่

มีต่อผลิตเครื่องตกแต่งแฟชั่น ซึ่งรมทั้งหมดออกเป็น 3 ประเด็นตามที่กล่าวมา สรุปผลเป็นตาราง ได้ดังนี้