• Tidak ada hasil yang ditemukan

สารบัญภาพประกอบ

ตาราง 1 จ านวนประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

5. การจัดกระท าและการวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วิจัยน าแบบสอบถามที่ได้รับกลับคืนมาท าการตรวจสอบความสมบูรณ์

และความครบถ้วนสมบูรณ์ทุกฉบับในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ดังนี้

1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีลักษณะตรวจสอบรายการ น ามาแจกแจงความถี่และค านวณค่าร้อยละ

2. ข้อมูลจากแบบสอบถามระดับปฏิบัติเกี่ยวกับแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการตามหลักไตรสิกขาของโรงเรียนวิถีพุทธ ทั้ง 3 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านกระบวนการ จัดการเรียนรู้ 2) ด้านการใช้สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 3) ด้านการวัดประเมินผล รวมจ านวน 30 ข้อ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และ

น าเสนอข้อมูลในรูปแบบตารางควบคู่การบรรยายผลการศึกษา (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) น าแบบสอบถามที่ลงคะแนนเรียบร้อยแล้วไปหาค่าเฉลี่ย พร้อมก าหนดเกณฑ์

การแปลความหมายค่าเฉลี่ย ระดับปฏิบัติ ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

ค่าเฉลี่ย 4.51-5.00 หมายถึง มีระดับปฏิบัติในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.51-4.50 หมายถึง มีระดับปฏิบัติในระดับมาก

81 ค่าเฉลี่ย 2.51-3.50 หมายถึง มีระดับปฏิบัติในระดับปานกลาง

ค่าเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถึง มีระดับปฏิบัติในระดับน้อย

ค่าเฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถึง มีระดับปฏิบัติในระดับน้อยที่สุด 3. ข้อเสนอแนะใช้วิเคราะห์เนื้อหาโดยแจกแจงความถี่

6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

6.1 สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ได้แก่ ค่าอ านาจจ าแนก (r) ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามรายด้านและทั้งฉบับ โดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟา () (Alpha Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach)

6.2 สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation)

ระยะที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1 ที่มีการปฏิบัติเป็นเลิศ (Best Practices)

แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนวิถีพุทธ มีขั้นตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1

1. ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน จ านวน 30 คน ใช้วิธีการ เลือกแบบเจาะจง โดยใช้เกณฑ์ ดังนี้

ผู้บริหารสถานศึกษา และรองผู้อ านวยการ สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1

ครูผู้สอน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1 2. เครื่องมือ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์

3. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยด าเนินการสอบถามเชิงลึก และการบันทึกข้อมูล ลงในแบบสัมภาษณ์

4. การจัดกระท าและการสังเคราะห์ใช้ Content Analysis 5. สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การสังเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ขั้นที่ 2

1. ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ใช้ในการตอบแบบสัมภาษณ์ จ านวน 30 คน ได้แก่

1.1 ครูโรงเรียนบ้านลาดนาเพียง จ านวน 4 คน ได้แก่

82 1.1.1 นายชัชวาล ถุงวิชา ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ

1.1.2 นางประคอง พงษ์ชนะ ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ 1.1.3 นางสาวสุคนธ์ สอนเพ็ง ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ 1.1.4 นายประยูร ทองสืบสาย ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ 1.2 ผู้บริหาร และครูโรงเรียนบ้านงิ้ว จ านวน 5 คน ได้แก่

1.2.1 นายครรชิต หมื่นแก้ว ต าแหน่ง ผู้อ านวยการช านาญการพิเศษ 1.2.2 นางค าคิด แจ้งพวงสี ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ

1.2.3 นางอรุณรัศมี ประดาพล ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ 1.2.4 นายไพโรจน์ เถื่อนนาคี ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ 1.2.5 นายพิสิฏฐ์ เชื้อสาวะถี ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ 1.3 ผู้บริหาร และครูโรงเรียนบ้านทุ่ม จ านวน 3 คน ได้แก่

1.3.1 นายสันติ มุ่งหมาย ต าแหน่ง ผู้อ านวยการช านาญการพิเศษ 1.3.2 นายสุริยา ฤาชากูล ต าแหน่ง รองผู้อ านวยการช านาญการพิเศษ 1.3.3 นางอภิญญาณี เบ้าดี ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ

1.4 ผู้บริหาร และครูโรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ านวน 5 คน ได้แก่

1.4.1 นายประสิทธิ์ สมศักดิ์ ต าแหน่ง ผู้อ านวยการช านาญการพิเศษ 1.4.2 นางสาวชุตินธร หัตถพนม ต าแหน่ง รองผู้อ านวยการช านาญการพิเศษ 1.4.3 นางวิลาวัลย์ โคตรนัว ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ

1.4.4 นางสมพิศ ไชยฤทธิ์ ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ 1.4.5 นางอุษณีย์ ทองปูอง ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ .5 ผู้บริหาร และครูโรงเรียนชุมชนบ้านฝาง จ านวน 5 คน ได้แก่

1.5.1 นายเพชรสมทรง บ ารุงบ้านทุ่ม ต าแหน่ง ผู้อ านวยการช านาญการ พิเศษ

1.5.2 นางรุ่งทิวา บาลยอ ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ 1.5.3 นายสมศักดิ์ หาปูุทน ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ 1.5.4 นางกานต์พิชชา หาปูุทน ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ 1.5.5 นายสันติ ลีลา ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ

1.6 ผู้บริหาร และครูโรงเรียนบ้านหนองบัว จ านวน 3 คน ได้แก่

1.6.1 นายธวัชชัย พลนิกร ต าแหน่ง ผู้อ านวยการช านาญการพิเศษ 1.6.2 นางทัศฎาพร ทุยเวียง ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ 1.6.3 นายพิพัฒน์พงษ์ พัฒเพ็ง ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ

83 1.7 ผู้บริหาร และครูโรงเรียนหนองกรุงวิทยาคาร จ านวน 5 คน ได้แก่

1.7.1 นายสัมฤทธิ์ กางเพ็ง ต าแหน่ง ผู้อ านวยการช านาญการพิเศษ 1.7.2 นางชมชวน ชาญนุวงศ์ ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ 1.7.3 นางมณิสรา วงษ์กรวด ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ 1.7.4 นางจรรยารักษ์ นามบุญลาภ ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ 1.7.5 นายทองบน วาวิลัย ต าแหน่ง ครูช าชาญการพิเศษ

2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ เป็นการสัมภาษณ์แบบมี

โครงสร้าง (Structured Interview) เป็นการสัมภาษณ์ที่ ผู้วิจัยได้ก าหนดโครงสร้างและค าถามที่จะ ใช้ในการสัมภาษณ์ไว้ล่วงหน้าก่อนการไปเก็บข้อมูล และไปสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูลตามโครงสร้าง ค าถามที่ได้ก าหนดไว้