• Tidak ada hasil yang ditemukan

การตลาด (กรณีศึกษา: กระดาษสา)

Dalam dokumen PDF 2556 (Halaman 34-46)

เนื่องดวยกระดาษจากเศษวัสดุทางการเกษตรนั้นเปนผลิตภัณฑที่ยังใหม ยังไมเปน ที่นิยม และยังไมมีการศึกษาดานทําการตลาดอยางจริงจัง ดังนั้นจึงไดศึกษากรณีของกระดาษสา ซึ่งเปนผลิตภัณฑที่อยูในกลุมเดียวกัน มีลักษณะที่คลายกันมาก แตมีการผลิตมานานและมีกลุม ลูกคาประจําเปนจํานวนมาก รวมทั้งยังมีบทความการศึกษาและการวิจัยเพื่อใชเปนกรณีศึกษา จํานวนมาก อันจะทําใหเห็นถึงปญหาในวงกวางและลงลึกในรายละเอียดไดเปนอยางดี

จากการที่มีผูประกอบการธุรกิจกระดาษสาหลายราย ทําใหเกิดภาวะการแขงขันที่

สูงพอสมควร ทําใหธุรกจผลิตภัณฑกระดาษสาอยูในภาวะเปนผูถูกเลือกในตลาดมาตลอด ไมมี

อํานาจในการตอรองกับลูกคา อีกทั้งยังมีการขายตัดราคากันมาก ทําใหผูประกอบการหลายราย ตองประสบกับภาวะขาดทุน ในการวิเคราะหตามหลักเกณฑ SWOT Analysis ในการบริหารจัดการ ธุรกิจหัตถกรรมสาขางานกระดาษ (อัญชลี โสมดี, 2553) สามารถสรุปได ดังนี้

2.1 จุดแข็งของผูประกอบการหัตถกรรมสาขางานกระดาษนั้น พบวา การไดรับ การถายทอดความรูมาจากบรรพบุรุษทําใหมีประสบการณ ผลิตภัณฑที่ผลิตจึงมีรูปแบบ ลวดลาย ที่สวยงามในรูปแบบของแบบดั้งเดิม ราคาของผลิตภัณฑ ก็มีความเหมาะสมกับตลาด มีชองทาง การจัดจําหนายที่แนนอน คือ การจําหนายผานรานคาของผูประกอบการเอง และผานตัวแทน จําหนาย ตลอดจนมีการประชาสัมพันธในงานแสดงสินคาตาง ๆ

2.2 จุดออนที่พบ คือ ผูประกอบการขาดความรู ความเขาใจในเรื่องการวางแผน การทํางาน การจัดการดานการตลาด อีกทั้งยังขาดผูสืบทอดงานทํากระดาษ และในชวงฤดูเก็บ เกี่ยวผลิตผลทางการเกษตรก็ขาดแคลนแรงงานผลิต เพราะแรงงานสวนใหญประกอบอาชีพ เกษตรกรรมเปนอาชีพหลัก

2.3 โอกาส คือ มีการสงเสริมอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอมอยางจริงจัง ผูนําทองถิ่นหรือผูนําชุมชนใหการสนับสนุนดานการศึกษาภูมิปญญาทองถิ่นและสงผลใหชาวบาน ไดรับการศึกษาเกี่ยวกับงานหัตถกรรม เกิดการเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่นและอนุรักษวัฒนธรรมไทย และการตลาดของผลิตภัณฑกระดาษสา มีอัตราในการเติบโตสูงทั้งในประเทศและตางประเทศ 2.4 อุปสรรคที่พบบอย คือ เปนธุรกิจที่ลงทุนไมมากทําใหเกิดคูแขงในตลาด เดียวกันเปนจํานวนมาก มีการลอกเลียนแบบกันจนไมเกิดการสรางสรรคงานออกแบบใหม ๆ ทํา ใหเกิดลวดลายซ้ําซาก ไมสวยงาม

สรุปตอนที่ 1 ผลิตภัณฑกระดาษจากเศษวัสดุเหลือใชทางการเกษตรมีคุณสมบัติ

เพียงพอในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม และมีผลประโยชนที่ตัวผลิตภัณฑพึงมี ตลอดจน ผลประโยชนพิเศษตอคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมของผูผลิตและสวนรวม

ในดานศักยภาพเชิงพานิชยนั้น ทั้งในภาพรวมของผลิตภัณฑในกลุม Eco Design เอง และกรณีศึกษางานหัตถกรรมจากกระดาษสานั้น พบวา ยังขาดการจัดการใหองคความรูมา สอดประสานและเกื้อกูลกัน ทั้งจุดแข็งในดานความชํานาญที่มีอยู แตไมถูกนํามาใชในการกําจัด ปริมาณมหาศาลของเศษวัสดุทางการเกษตร หรือขาดการเชื่อมโยงไปสูการสื่อสารทางการตลาด

สูผูบริโภคในกลุมใหม ดวยศักยภาพของผลิตภัณฑและผูประกอบการนั้น สามารถพัฒนาตอได

อีกมาก ประกอบกับยังมีชองวางทางการตลาดที่จะนําผลิตภัณฑไปสูผูบริโภคได

ดังนั้น จึงควรไดรับการสงเสริมเพื่อใหธุรกิจนี้สามารถเติบโตได หนึ่งในวิธีการที่จะ ทําใหผลิตภัณฑไปถึงผูบริโภคไดนั้นก็คือการใช สื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดเพื่อชวยใหการ สื่อสารถึงกันระหวางผูประกอบการและผูบริโภคเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รูความตองการของ ผูบริโภค และสามารถสนองตอบได อันสงผลตอการเติบโตของการผลิตและการใชวัตถุดิบที่เปน เศษวัสดุทางการเกษตรใหมากขึ้นตามไปดวย

ตอนที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีการสรางแบรนด

ความหมายของแบรนด

แบรนด (Brand) หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางที่ผลิตภัณฑมี เปนผลรวมของความรูสึกของ ผูบริโภคมีตอแบรนด รวมทั้งการรับรูประวัติศาตรของแบรนด การมีประสบการณรวมที่สั่งสมจาก ความรูสึกโดยรวมของผูใชแบรนดนั้น ๆ การเปนสวนหนึ่งของแบรนดในทุกดาน และวิถีทางการ สื่อสารของสินคาทั้งหมด มีทั้งสวนที่สามารถจับตองได (tangible) และจับตองไมได (intangible) ซึ่งจะรวมไปถึง

1. ความนาเชื่อถือ (Trust/Reliability) 2. ความมั่นใจ (Confidence) 3. ความคุนเคย (Familiarity)

4. ประสบการณที่ไดสะสม (Shared Experiences) 5. ความสัมพันธและความผูกพัน (Relationship) 6. สถานภาพ (Status)

7. บุคลิกภาพ (Personality)

และสวนที่สําคัญที่สุด คือ แบรนดชั้นในหรือแบรนดดีเอ็นเอ (Brand DNA or The Essence) เปนสวนที่ทําใหแบรนดมีความแตกตางจากคูแขง เปนจิตวิญญาณและแกนแทที่โดด เดนของแบรนด เปนเหตุผลและมุมมองจากผูบริโภคที่ทําใหตัดสินใจเลือกแบรนดนี้ประจํา ทั้งนี้ยัง สามารถแบงแบรนดออกเปน 4 ระดับ ซึ่งสามารถขยายความไดดังนี้

1. รูปรางหนาตาภายนอก (Attributes) คือ สวนที่ผูบริโภคสามารถจดจําแบรนดนั้นได

เชน ชื่อของสินคา ตราสัญลักษณ สี รูปราง กลอง บรรจุภัณฑ เปนตน

2. คุณประโยชน (Benefits) คือ ประโยชนที่ผูบริโภคสามารถจับตองไดจากผลิต ภัณฑนั้น ๆ เชน ลิปสติกสีแดง น้ํายาลางรถที่ทําใหรถสะอาด ครีมอาบน้ําที่ทําใหผิวนุม เปนตน 3. คุณคา (Values) คือ สิ่งที่ไมสามารถจับตองไดโดยตรง แตผูบริโภคสามารถรูสึกได

ถึงแบรนดนั้น เชน ใชแลวมีความเปนนักกีฬา ใชแลวมีความรูสึกมั่นคง ใชแลวความรูสึกแปลกและ แตกตางจกคนอื่น

4. บุคลิกภาพ (Personality) คือ สิ่งที่ทําใหกับผูบริโภคทที่ใชแบรนดนั้น เชน ดูเปน ศิลปน ดูเปนคนรักและใสใจสิ่งแวดลอม ดูเปนคนมีฐานะดี

จากความหมายดังกลาว สามารถสรุปเปนโครงสรางสวนประกอบของแบรนดได 3 ชั้น ดังนี้

ภาพที่ 13 สวนประกอบของแบรนด

แบรนดดีเอ็นเอ (Brand DNA) หรือแกนแทของแบรนดจะตองเปนความโดดเดน เพียง จุดเดียวที่ชัดเจน ที่เปนสาเหตุใหผูคนซื้อแบรนดนั้น หากแบรนดนั้นมีดีหลายอยาง ก็ตองตัดใจ เลือกจนกวาจะเหลือเพียงจุดเดียวใหได

1. Landor Associates ที่ปรึกษาการวางกลยุทธแบรนดและการออกแบบ ได กลาว ถึง 8 เคล็ดลับสําคัญในการสรางแบรนด (8 Principles of Branding) ไวดังนี้ (Buffet, 2556) 1.1 สรางความโดดเดน โดยไมมองขามจุดยืนของสินคา ถือเปนสิ่งสําคัญที่จะ นําพาไปสูความสําเร็จได การสรางแบรนดใหเหนือชั้น จะตองยึดมั่นในจุดยืนของแบรนด รูจัก กลุมเปาหมาย เขาใจรูปแบบในการแขงขันทางการตลาด และตองรูวาทําอยางไร แบรนดจึงจะ กาวสูความเปนหนึ่ง

1.2 สรางพื้นที่สรางแบรนด แบรนดที่กาวมาสูชั้นแนวหนาสวนใหญจะยึดพื้นที่

ทางการตลาดไดกอนใคร และมักแสดงความเปนเจาของพื้นที่นั้น ๆ ออกมาไดอยางชัดเจน เครื่องชี้

วัดความสําเร็จในการครอบครองพื้นที่ทางการตลาดนั้น คือ เมื่อเอยถึงสินคาหรือบริการประเภทใด ลูกคาจะนึกถึงแบรนดนี้เหมือนที่นึกถึง Band-Aid Kleenex หรือ Xerox

1.3 รูจักและเขาใจลูกคา บางครั้งแกนแทของแบรนดที่ดูเรียบงายก็สามารถสราง จุดยืนที่แตกตางของสินคาได หากคนพบวาแกนแทของแบรนดที่หลายบริษัทอาจมองขามกลับ เปนสิ่งที่ตรงกับความตองการของลูกคา ก็ถือเปนโอกาสสําคัญในการสรางแบรนดที่เกิดจาก ชองวางทางการตลาดที่นาสนใจ

1.4 ทําอยางที่พูด แบรนดที่ประสบความสําเร็จในการสื่อสารจนดึงดูดความสนใจ ของลูกคาไดเปนอยางดี เกิดเปนแรงผลักดันในการพัฒนาสินคาและบริการใหดีขึ้นเหนือความ คาดหมายของลูกคา เพราะการรักษาสัญญาที่มีกับลูกคา ไมเพียงแตจะสรางความเชื่อมั่นที่มีตอ แบรนด แตลูกคายังจะบอกตอความประทับใจที่มีตอแบรนดแบบปากตอปากอีกดวย

1.5 อารมณอยูเหนือเหตุผล ตรรกะและเหตุผลมีความสําคัญในการสื่อสารเสมอ แตก็ไมอาจเปรียบเทียบไดกับอิทธิพลของการสื่อสารที่เปนการถายทอดในดานอารมณที่ทําให

ลูกคารูสึกไดถึงความใกลตัวและสัมผัสได โดยการสื่อสารดวยวิธีนี้ยังเปนอีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่ง สามารถสรางคานิยมที่แตกตางของแบรนดจากคูแขงไดอีกดวย

1.6 บุคลากร คือ อาวุธ บุคลากรที่มีความมุงมั่นใสใจการทํางานเพื่อองคกร ถือ เปนสวนประกอบสําคัญในการนําเสนอภาพลักษณที่ดีของแบรนดตอลูกคา โดยแบรนดที่ประสบ ความสําเร็จ บุคลากรจะสามารถถายทอดความเปนแบรนดผานทุกขั้นตอนการทํางานไดอยางมี

ประสิทธิภาพเพื่อสรางความเชื่อมั่นและความรูสึกที่ดีจากลูกคา

1.7 บริหารพื้นที่สื่อ เชื่อมั่นในประสิทธิภาพพื้นที่สื่อของแบรนด และบริหารการใช

งานใหเกิดประโยชนสูงสุด การเลือกใชพื้นที่โฆษณาอยางสรางสรรคจะชวยสื่อสารสาระสําคัญของ

แบรนดกับลูกคาไดชัดเจนมากกวาการทําโฆษณาในรูปแบบอื่น คือ กลยุทธทางการเงินที่ชาญ ฉลาดและยังสามารถควบคุมการแทรกแซงสื่อจกคูแขงไดอีกดวย

1.8 เพิ่มเวทีสื่อสาร วิถีการตลาดแบบเกามักจะใชการสื่อสารแบบทางเดียว จาก แบรนดถึงลูกคาเทานั้น แตแบรนดยุคใหมเลือกที่จะเปดโลกการสื่อสาร 2 ชอง ทางผานโลก อินเตอรเน็ต ถือเปนการเพิ่มความใกลชิด สรางความผูกพันกับแบรนด สรางประสบการณใหมให

ลูกคาไดมีสวนรวมกับแบรนด ไดเสนอแนะความคิดเห็นที่มีตอสินคาและบริการ

2. บทบาทและหนาที่ของแบรนดในการตลาดสมัยใหมมีดังนี้ (เสรี วงษมณฑา และ ชุษณะ เตชคณา, 2550)

2.1 บงบอกอัตลักษณของสินคา (Brand Identity)

2.2 แสดงบุคลิกของสินคา (Brand Personality Projection) 2.3 สะทอนภาพลักษณ (Product Image Reflection)

2.4 บอกตําแหนงครองใจของสินคา (Product Positioning Communication) 2.5 สาธยายคุณประโยชนและจุดเดนของสินคา (Description of Product Benefits and Features)

2.6 สรางคุณคาเพิ่มเติมใหกับสินคา (Value Added Creation) การสรางแบรนด

การสรางแบรนดเปนกิจกรรมที่เกิดขึ้นในลักษณะเปนกระบวนการ มีขั้นตอนเริ่มตน อยางเปนระบบและเกี่ยวของลึกซึ้งกับศาสตรอื่น ๆ หลายแขนง โดยเฉพาะศาสตรดานจิตวิทยา (Psychology) สังคมวิทยา (Sociology) และพฤติกรรมผูบริโภค (Consumer Behavior) หลักการ สําคัญของการสรางแบรนด คือ การนําศาสตรตาง ๆ เขามาประยุกต ปรับใชเพื่อนําองคประกอบที่

สัมผัสจับตองไดของตัวสินคา (Tangible) มาเปลี่ยนเปนคุณคาของแบรนดนั่นเอง

การสรางแบรนดไมไดเปนการสรางเพียงแคชื่อกับตราสัญญลักษณ (Name and Logo) เทานั้น แตแบรนด คือ ประสบการณโดยรวมของผูบริโภค (Consumer Experiences) จาก สิ่งที่แบรนดนําเสนอ รวมถึงการสื่อสารอื่น ๆ จากแบรนด (Other Brand Communications) ไมวา จะเปนการโฆษณา การประชาสัมพันธ วัฒนธรรมองคกร

วิทวัส ชัยปาณี (2546) กลาววา การทําความเขาใจและเขาถึงผูบริโภคในการดําเนิน ชีวิตอยางลึกซึ้ง (Consumer Insight) ถือเปนสวนสําคัญที่สุดในการสรางแบรนด โดยวิธีการของ บริษัท Creative Juice\G1 นั้นเรียกวา กระบวนการสรางแบรนด 4 มิติ (4D-Branding Process) ซึ่งมี 4 ขั้นตอนใหญที่ตองใชการทําความเขาใจผูบริโภคอยางลึกซึ้งทั้งสิ้น ไดแก

Dalam dokumen PDF 2556 (Halaman 34-46)