• Tidak ada hasil yang ditemukan

คุณธํารงรัตน บุญประยูร

Dalam dokumen PDF 2556 (Halaman 135-140)

ประสบการณการทํางาน : ชางภาพโฆษณา ในสวนการสงเสริมการขายและ โฆษณาในกลุมเซ็นทรัล และกลุมบริษัทแปลน อายุงานมากกวา 35 ป

ภาพที่ 68 คุณธํารงรัตน บุญประยูร

ผูเชี่ยวชาญดานสื่อออนไลน

คุณภัคนันท ธิยะใจ

ประสบการณการทํางาน : ปจจุบันทํางานในเครื่อบริษัทรักลูก ในสวนงาน ดิจิตอล ใน ตําแหนงของ Rakluke Digital Production Manager Rakluke Group Co., Ltd. ซึ่งกอนหนานี้ ได

ทํางานดูแลระบบออนไลนที่ Programmer Urgento Software Co., Ltd. อายุ งานรวม 13 ป

ภาพที่ 69 คุณภัคนันท ธิยะใจ

ผูเชี่ยวชาญดานการตลาด คุณณัฐพล ใยไพโรจน

ประสบการณการทํางน : เจาหนาที่ฝายการตลาด มหาวิทยาลัยรังสิต ทํางาน ในสวน การตลาดที่เขาถึงตัวผูบริโภค (Below-the-Line) เชน จัดแคมเปญ จัดกิจกรรม เปนตน อายุงาน 9 ป ผูเขียนหนังสือ Digital Marketing : Concept&Case Study

ภาพที่ 70 คุณณัฐพล ใยไพโรจน

ซึ่งกระบวนการกอนที่ผูเชี่ยวชาญจะทําการประเมินนั้น จะเริ่มจากใหลิงคเวบไซต แก

ผูเชี่ยวชาญ เพื่อเขาไปในแฟนเพจเฟซบุคของแบรนดกอน ใหอิสระในการเขาไปดูรูปปาย หนาราน และสื่อแตละชุด และโซเชียลมีเดียแตละประเภท จากนั้นจึงใหวิเคราะหใน 4 ประเด็น ไดแก

1. ศิลปกรรมและเนื้อหา (Art direction และ Content) ของสื่อเหมาะสมกับแบรนด

หรือไม อยางไร

2. ความเหมาะสมของแผนการใชสื่อ (ประเภทของสื่อ และระยะเวลาการใชสื่อ) มี

ความเหมาะสมหรือไม อยางไร

3. สื่อมีความสามารถในการจูงใจใหคลอยตาม จนนํามาสูพฤติกรรมการซื้อสินคาได

หรือไม อยางไร

4. สิ่งที่ควรปรับปรุง และขอแนะนําในการผลิตสื่อสําหรับผลิตภัณฑกระดาษจาก เศษ วัสดุทางการเกษตร หรือสินคาประเภท Eco design

ขั้นตอนสุดทาย สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ

123 บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การเสนอผลการวิเคราะหขอมูลนี้ ผูวิจัยไดนําเสนอตามความมุงหมายของการวิจัย โดยการ แบงการนําเสนอออกเปน 2 สวน ตามลําดับตอไปนี้

สวนที่ 1 ผลการวิเคราะหขอมูลเชิงพรรณนา

ตอนที่ 1 การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรศาสตร

สวนที่ 2 ผลการวิเคราะหขอมูลเชิงอนุมาน เพื่อทดสอบสมมติฐาน ดังนี้

ตอนที่ 1 ลักษณะทางประชากรศาสตร อันไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได และภูมิภาคที่อยูอาศัยที่แตกตางกันของผูบริโภคผลิตภัณฑกระดาษจากเศษวัสดุ

ทางการเกษตรและ/หรือผลิตภัณฑประเภท Eco Design มีผลตอการใชสื่อในการสื่อสารทาง การตลาด

ตอนที่ 2 กลยุทธการสรางแบรนด และออกแบบสื่อเพื่อการสื่อสารทาง การตลาด มีผลตอการสรางทัศนคติที่ดี และกระตุนใหเกิดพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑกระดาษจาก เศษวัสดุทางการเกษตร

ตอนที่ 3 การเลือกเครื่องมือการสื่อสารทางการตลาด และการวางแผนการ ใชสื่อมีผลตอทัศนคติที่ดีและกระตุนใหเกิดการซื้อผลิตภัณฑกระดาษจากเศษวัสดุทางการเกษตร

สวนที่ 1 ผลการวิเคราะหขอมูลเชิงพรรณนา

ตอนที่ 1 การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรศาสตร

ผลสํารวจจากแบบสอบถามผูบริโภคผลิตภัณฑกระดาษจากเศษวัสดุทางการเกษตร และ/หรือผลิตภัณฑประเภท Eco Design จํานวน 400 คนในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, เชียงใหม

และ เชียงราย คละเพศ คละอายุ คละสถานะภาพ ตั้งแตวันที่ 29 มกราคม - 15 มีนาคม 2556 ไดผลดังนี้

แบบสอบถามถูกแบงเปน 3 ตอน เพื่อใหไดขอมูลที่ละเอียด และเปนจริงมากที่สุด โดย ตอนที่ 1 (ขอ 1-8) จะเปนขอมูลของผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 (ขอ 9-21) จะเปนการเก็บขอมูล เกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อและการไดรับสื่อจากผูผลิตผลิตภัณฑกระดาษจากเศษวัสดุทาง

การเกษตร และ/หรือผลิตภัณฑประเภท Eco Design และตอนที่ 3 (ขอ 22-29) เปนการเก็บขอมูล เกี่ยวกับความเขาใจ และความตองการในการรับสื่อของผลิตภัณฑประเภท Eco design ซึ่งสรุป ขอมูลไดดังนี้

แบบสอบถามตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม 1. แหลงที่ทําการสํารวจ

กําหนดใหมีการสํารวจบริเวณที่เปนแหลงชุมชนที่ตั้งรานคาที่คาดวาจะผลิตภัณฑ

กระดาษจากเศษวัสดุทางการเกษตร และ/หรือผลิตภัณฑประเภท Eco Design จําหนาย ซึ่งมี

สถานที่และจํานวนผูตอบแบบสอบถาม ดังนี้

1.1 ถนนคนเดิน จ.เชียงใหม 199 คน (49.75%) 1.2 ตลาดนัดสวนจตุจักร 100 คน (25%)

1.3 เจเจ มารเก็ต 50 คน (12.5%)

1.4 ถนนคนเดิน จ.เชียงราย 41 คน (10.25%)

1.5 ราน Eco Shop 5 คน (1.25%)

1.6 อื่น ๆ ไดแก ราน MUJI 5 คน (1.25%)

จากขอมูลนี้เปนการสํารวจสถานที่มีผลิตภัณฑกระดาษจากเศษวัสดุทาง การเกษตร และ/หรือผลิตภัณฑประเภท Eco design ขายเปนประจํา อีกทั้งยังเปนแหลงในการ กระจายสินคามาสูผูบริโภค ในสวนภาคเหนือจะมีจ.เชียงใหมเปนศูนยกลางในการขายสินคา หัตถกรรม ประเภทกระดาษจากวัสดุธรรมชาติที่ขึ้นชื่อ เชน กระดาษสา เปนตน และเปนจังหวัด ทองเที่ยวที่มีชื่อเสียง มีนักทองเที่ยวจากทั่วทุกภาคมาจับจายซื้อของที่นี่ อีกทั้งยังไดรับการสงเสริม ใหมีการขายสินคา โดยมีถนนคนเดินเปนประจําทุกสัปดาหมากวา 10 ป ซึ่งทําใหงายในการ กระจายสินคาจากผูขายมาสูผูบริโภค ดังนั้นการเก็บขอมูลที่ถนนคนเดิน จ.เชียงใหมจึงทําไดงาย และมีผูตอบแบบสอบถามมากที่สุด

ในสวนกรุงเทพฯ เองซึ่งเปนเมืองที่มีผูประกอบการ หรือนักออกแบบผลิตภัณฑ

กระดาษจากเศษวัสดุทางการเกษตรและ/หรือผลิตภัณฑประเภท Eco Design และเปนเมืองที่มี

กลุมเปาหมายของแตละแบรนดคาดหวังในการเจาะตลาด นั่นคือ กลุมคนรุนใหม นักศึกษา และ กลุมคนทํางานที่มีความรูความเขาใจและประสบการณรวมเกี่ยวกับการออกแบบที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม และมีกําลังซื้อ ซึ่งผูวิจัยไดไปสํารวจในตลาดนัดสวนจตุจักรซึ่งเปนแหลงของงาน ออกแบบที่มีความคิดสรางสรรคแปลกใหมอยูเสมอ และเปนศูนยรวมของงานผลิตภัณฑกระดาษ จากธรรมชาติจากมีผูผลิตหลายรายและมีผูบริโภคกลุมใหญอยูที่นั่นซึ่งการเก็บขอมูลที่กรุงเทพฯ

สามารถทําไดหลายที่ เพราะมีรานคาตัวแทนจําหนายสินคาเหลานี้อยูเชนกัน ไดแก JJ มารเก็ต ราน Eco Shop และ ราน MUJI เปนการเก็บตัวอยางในกลุมผูบริโภคที่ตางสถานที่และบริบทของ สังคมและสิ่งแวดลอมที่ตางกัน ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มความหลากหลายของขอมูล

และสุดทายคือบริเวณถนนคนเดินจ.เชียงรายซึ่งเปนแหลงในการกระจายสินคาของ กลุมแมบานขัวแคร ซึ่งเปนกรณีศึกษาในงานวิจัยนี้ซึ่งเปนสถานที่ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นมาเพื่อรองรับการ เติบโตของการทองเที่ยวในจังหวัด จึงยังไมเปนที่รูจักของรักทองเที่ยวมากนัก ดังนั้นการเก็บขอมูล จึงทําไดไมมากเทากับแหลงอื่นที่มีชื่อเสียง และจัดตั้งมานานกวา

Dalam dokumen PDF 2556 (Halaman 135-140)