• Tidak ada hasil yang ditemukan

การวิเคราะห์การประเมินสังเคราะห์ (Synthetic evaluation analysis)

หัวข้อนี้เป็นการประเมินสภาวะการอบแห้งที่เหมาะสมที่สุดโดยใช้ดัชนีการประเมินสังเคราะห์

(Synthetic evaluation index, S) โดยเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาจากการยอมรับของผู้บริโภคเป็น หลัก (Consumer’s acceptability aspect) ซึ่งใช้สมการการประเมิน [78] ดังนี้



n

i iYi

S

1

(19)

โดยที่  คือ ค่าน้ าหนักของผลลัพธ์

Yi คือ ผลลัพธ์สัมพัทธ์

90 n คือ จ านวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่น ามาพิจารณา (n = 7)

ส าหรับงานวิจัยนี้ได้เลือกผลลัพธ์ที่น ามาประเมินสภาวะการอบแห้งที่เหมาะสม ประกอบด้วย 1) SEC

2) %Break 3) %Shrink 4) E 5) Hardness

6) Rehydration time (RT) 7) Rehydration ratio (RR)

4.4.1 Consumer’s acceptability aspect

ส าหรับหัวข้อนี้ได้จัดอันดับความส าคัญของผลลัพธ์โดยพิจารณาค่าการยอมรับของผู้บริโภค เป็นอันดับแรก ซึ่งโดยปกติแล้วผู้บริโภคจะให้ความส าคัญกับลักษณะปรากฏก่อนแล้วตามด้วย ลักษณะของเนื้อสัมผัส ดังนั้นสมการดัชนีการประเมินสังเคราะห์ (S) สามารถเขียนใหม่ได้ดังนี้

7

1

i i i

C Y

S (21)

โดยที่

min max

min

1 % %

% 1 %

Break Break

Break Break

Y

min max

min

2 1

E E

E Y E

min max

min 3 Hardness Hardness

Hardness Hardness

Y

min max

min

4 1

RT RT

RT Y RT

min max

min

5 RR RR

RR Y RR

min max

min

6 % %

% 1 %

Shrink Shrink

Shrink Shrink

Y

min max

min

7 1

SEC SEC

SEC Y SEC

และ

1 คือ ค่าน้ าหนักของ %Break (1 = 0.7)

2 คือ ค่าน้ าหนักของ E (2 = 0.6)

3 คือ ค่าน้ าหนักของ Hardness (3 = 0.5)

4 คือ ค่าน้ าหนักของ RT (4 = 0.4)

5 คือ ค่าน้ าหนักของ RR (5 = 0.3)

91

6 คือ ค่าน้ าหนักของ %Shrink (6 = 0.2)

7 คือ ค่าน้ าหนักของ SEC (7= 0.1)

ตาราง 45 ผลดัชนีการประเมินสังเคราะห์ (S) ของสภาวะการอบแห้งแตกต่างกัน Stepwise Mode

SC

ช่วงที่1 ช่วงที่2

450 - 0.210.00e

150 300 1.640.14c

150 450 1.380.13d

300 450 1.740.06c

450 150 2.060.18b

450 300 1.680.06c

300 150 2.300.20a

ตาราง 45 แสดงผลดัชนีการประเมินสังเคราะห์เมื่อพิจารณาประสิทธิภาพการใช้การยอมรับ ของผู้บริโภคเป็นเกณฑ์ (SC) ของสภาวะการอบแห้งแตกต่างกัน จากตารางดังกล่าวพบว่าค่า SC มีค่า อยู่ในช่วง 0.210.00 - 2.300.20 โดยมีค่าสูงสุดที่สภาวะการอบแห้งแบบ step-down จาก 300 วัตต์ เป็น 150 วัตต์ ดังนั้น จากตาราง 45 สามารถสรุปได้ว่าสภาวะการอบแห้งที่เหมาะสมที่สุดโดย พิจารณาจากคุณภาพที่เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคเป็นหลัก สภาวะการอบแห้งที่เหมาะสมที่สุดคือ การ อบแห้งด้วยลมร้อนที่อุณหภูมิ 90C ร่วมกับการให้ความร้อนด้วยไมโครเวฟแบบ step-down จาก 300 วัตต์เป็นเวลา 671 วินาที (ประมาณ 11 นาที) ตามด้วยการลดก าลังวัตต์เป็น 150 วัตต์จน สิ้นสุดการอบแห้งหรือประมาณ 55 นาที

92

บทที่ 5

สรุปผลและข้อเสนอแนะ

จากผลการทดลองจากบทที่ผ่านมา บทนี้จะกล่าวถึงข้อสรุปและข้อเสนอแนะของการทดลอง ซึ่งได้แก่การศึกษาจลนศาสตร์การอบแห้งถั่วแดงหุงสุกเร็วด้วยวิธีการอบแห้งแบบลมร้อนร่วมกับการ ให้ความร้อนด้วยไมโครเวฟ การศึกษาสภาวะการอบแห้งที่เหมาะสม การศึกษาการอบแห้งแบบ ขั้นตอน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้