• Tidak ada hasil yang ditemukan

ตารางที 1 (ต่อ)

ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล จํานวน ร้อยละ

สถานภาพ 174 100.0

โสด 74 42.53

สมรส 99 56.90

หม้าย/หย่า อายุราชการ

1 174

0.57 100.0

น้อยกว่า 5 ปี 30 17.24

5 – 10 ปี 37 21.26

11 – 15 ปี 42 24.14

15 ปีขึ,นไป ระดับตําแหน่งงาน

ปฏิบัติการ ชํานาญการ ชํานาญการพิเศษ รายได้ต่อเดือน

ตํากว่า 20,000 20,001 - 25,000 25,001 - 30,000 30,001 ขึ,นไป แหล่งเงินทุน

บิดา / มารดา ตนเอง สามี / ภรรยา

ทุนการศึกษาจากหน่วยงาน

65 174

37 98 39 174

38 38 44 54 174

31 85 10 48

37.36 100.0 21.26 56.32 22.41 100.0 21.84 21.84 25.29 31.03 100.0 17.82 48.85 5.75 27.59

จากตารางที 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ข้าราชการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานทีใช้ในการศึกษาครั,งนี,จํานวน 174 คน จําแนกได้

ดังนี,

เพศ พบว่า ข้าราชการเป็นเพศชาย จํานวน108คน คิดเป็นร้อยละ 62.07 และเป็นเพศหญิง จํานวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 37.93

อายุ พบว่า ข้าราชการมีอายุระหว่าง 36 -45 ปี จํานวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 37.36 รองลงมา อายุ 46 ปีขึ,นไป จํานวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 29.31 อายุระหว่าง 25 - 35 ปี จํานวน 48คน คิดเป็นร้อยละ 27.59 และน้อยทีสุดคือ อายุตํากว่า 25 ปี จํานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 5.75

สถานภาพ พบว่า ข้าราชการมีสถานภาพสมรส จํานวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 56.90 โสด จํานวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 42.53 และหม้าย/หย่า จํานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ0.57

อายุราชการ พบว่า ข้าราชการมีอายุราชการ 15 ปีขึ,นไป จํานวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 37.36 รองลงมาอายุราชการ 11 – 15 ปี จํานวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 24.14 อายุราชการ 5 – 10 ปี

จํานวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 21.26 และน้อยกว่า 5 ปี จํานวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 17.24

ระดับตําแหน่งงาน พบว่า ข้าราชการมีระดับชํานาญการ จํานวน 98 คน คิดเป็นร้อยละ 56.32 ระดับชํานาญการพิเศษ จํานวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 22.41 และระดับปฏิบัติการ จํานวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 21.26

รายได้ต่อเดือน พบว่า ข้าราชการมีรายได้ 30,001 ขึ,นไป จํานวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 31.03 รองลงมารายได้ 25,001 - 30,000 บาท จํานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 25.3 รายได้ 20,001 - 25,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 21.84 และตํากว่า 20,000 บาท จํานวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 21.84

แหล่งเงินทุนทีนํามาใช้ในการศึกษาต่อ พบว่า ข้าราชการมีแหล่งเงินทุนมาจากตนเอง จํานวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 48.85 รองลงมาจากทุนการศึกษาจากหน่วยงาน จํานวน 48 คน คิดเป็น

ร้อยละ 27.59 จากบิดา / มารดา จํานวน 31คน คิดเป็นร้อยละ 17.82 และสามี / ภรรยา จํานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 5.75

ตอนที 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาโทของข้าราชการกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

การศึกษาครั,งนี,ผู้ศึกษาได้ศึกษาแรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาโทของข้าราชการ

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลีย.(Mean).และ ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ซึงผลการวิเคราะห์ข้อมูลปรากฏดังตารางที.2 – 7

ตารางที 2 แสดงค่าเฉลีย (X) และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) แรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับ ปริญญาโทของข้าราชการกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานในภาพรวมแต่ละด้าน รวม 5 ด้าน

แรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาโท ระดับความคิดเห็น

x S.D. แปลผล

1.การพัฒนาตนเอง 3.63 0.46 มาก

2. คุณภาพงาน 3.57 0.47 มาก

3. การย้ายหรือเปลียนสายงาน 3.37 0.72 ปานกลาง

4. ความก้าวหน้าในงานและรายได้ 3.52 0.60 มาก

5. การได้รับการยอมรับ 3.86 0.48 มาก

รวม 3.59 0.40 มาก

จากตารางที 2 พบว่าแรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาโทของข้าราชการในภาพรวม อยู่ในระดับมาก (X=3.59) และเมือพิจารณารายด้านพบว่าจากแรงจูงใจทั,งหมด 5 ด้าน ข้าราชการมี

แรงจูงใจอยู่ในระดับมาก 4 ด้านโดยด้านทีมีค่าเฉลียสูงสุด คือการได้รับการยอมรับ (X=3.86) รองลงมาคือด้านการพัฒนาตนเอง (X=3.63) ด้านคุณภาพงาน (X=3.57) และด้านความก้าวหน้าใน

งานและรายได้ (X=3.52) แรงจูงใจอยู่ในระดับปานกลาง คือ ด้านการย้ายหรือเปลียนสายงาน (X=3.37)

ตารางที 3 แสดงค่าเฉลีย (X) และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) แรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับ ปริญญาโทของข้าราชการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน.ด้านพัฒนาตนเอง

ด้านพัฒนาตนเอง ระดับความคิดเห็น

x S.D. แปลผล

1. ท่านคิดว่า การศึกษาต่อระดับปริญญาโทเป็นการ เพิมพูนความรู้ ความสามารถ และความชํานาญให้กับ ตนเองมากขึ=น

4.03 0.49 มาก

2. ผู้ทีศึกษาต่อระดับปริญญาโท เป็นคนทีมีวิสัยทัศน์ที

กว้างไกลและทันต่อเหตุการณ์ 3.66 0.63 มาก

3. การศึกษาระดับปริญญาโท ทําให้ผู้ทีศึกษาเป็นคนทีมี

ความสามารถในการคิดวิเคราะห์มากขึ=น 3.84 0.58 มาก

4. การศึกษาต่อระดับปริญญาโท ทําให้เห็นแนวทางใน

การตัดสินใจแก้ไขปัญหาได้ดีขึ=น 3.68 0.67 มาก

5. ผู้ทีศึกษาต่อระดับปริญญาโท เป็นผู้ทีมีความเพียร

พยายามและมีความอดทนสูง 3.78 0.67 มาก

6. ผู้ทีศึกษาต่อระดับปริญญาโท ต้องมีความรับผิดชอบ

สูง 3.88 0.62 มาก

7. เมือศึกษาต่อระดับปริญญาโท ทําให้สามารถ

ติดต่อสือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ=น 3.70 0.60 มาก 8. ท่านคิดว่า ผู้ทีจบการศึกษาระดับปริญญาโท เป็นคนที

มีความมันใจในตนเองมาก จนบางครั=งไม่รับฟังความ คิดเห็นของผู้อืน

2.51 1.21 น้อย

รวม 3.63 0.46 มาก

จากตารางที 3 พบว่า ข้าราชการมีความคิดเห็นต่อแรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาโท ด้านพัฒนาตนเอง ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X= 3.63)โดยเห็นด้วยในระดับมากว่า การศึกษา

ต่อระดับปริญญาโทเป็นการเพิมพูนความรู้ ความสามารถ และความชํานาญให้กับตนเองมากขึ,น (X= 4.03) ผู้ทีศึกษาต่อระดับปริญญาโท ต้องมีความรับผิดชอบสูง (X= 3.88) เป็นคนทีมี

ความสามารถในการคิดวิเคราะห์มากขึ,น (X= 3.84) เป็นผู้ทีมีความเพียรพยายามและมีความอดทนสูง

(X= 3.78) สามารถติดต่อสือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ,น (X= 3.70) ทําให้เห็นแนวทางใน การตัดสินใจแก้ไขปัญหาได้ดีขึ,น (X= 3.68) เป็นคนทีมีวิสัยทัศน์ทีกว้างไกลและทันต่อเหตุการณ์

(X= 3.66) และมีความคิดเห็นในระดับน้อยว่า ผู้ทีจบการศึกษาระดับปริญญาโท เป็นคนทีมีความ มันใจในตนเองมาก จนบางครั,งไม่รับฟังความคิดเห็นของผู้อืน.(X= 2.51)

ตารางที 4 ค่าเฉลีย (X) และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) แรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญา โทของข้าราชการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน.ด้านคุณภาพงาน

ด้านคุณภาพงาน ระดับความคิดเห็น

x S.D. แปลผล

1. การศึกษาต่อระดับปริญญาโท ทําให้สามารถพัฒนา งานทีทําอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากยิงขึ=น

3.77 0.57 มาก

2. การศึกษาระดับปริญญาโท ทําให้มีสามารถในการ ผสมผสานและประยุกต์ใช้ความรู้สาขาต่างๆ เข้าด้วยกัน อย่างเป็นระบบ

3.72 0.61 มาก

3. นําความรู้ทีได้รับศึกษาในระดับปริญญาโทมาใช้ใน การวางแผนการทํางานอย่างเป็นระบบ

3.71 0.59 มาก

4. ทําให้มีความคิดริเริม สร้างสรรค์งานใหม่อย่าง สมําเสมอ

3.40 0.63 ปานกลาง 5. ทําให้ความผิดพลาดในการทํางานน้อยลง 3.23 0.66 น้อย

รวม 3.57 0.47 มาก

จากตารางที 4 พบว่า ข้าราชการมีความคิดเห็นต่อแรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาโท ด้านคุณภาพงาน.ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X=.3.57).โดยเห็นด้วยในระดับมากว่า.การศึกษาต่อ ระดับปริญญาโท.ทําให้สามารถพัฒนางานทีทําอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากยิงขึ,น.(X= 3.77).ทําให้มี

ความสามารถในการผสมผสานและประยุกต์ใช้ความรู้สาขาต่างๆเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบ (X= 3.72) สามารถนําความรู้ทีได้รับศึกษาในระดับปริญญาโทมาใช้ในการวางแผนการทํางาน

อย่างเป็นระบบ (X= 3.71) มีความคิดเห็นในระดับปานกลางว่า ทําให้มีความคิดริเริม สร้างสรรค์

งานใหม่อย่างสมําเสมอ (X= 3.40) และมีความคิดเห็นในระดับน้อยว่า ทําให้ความผิดพลาดในการ ทํางานน้อยลง (X= 3.23)

ตารางที 5 แสดงค่าเฉลีย (X) และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) แรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับ ปริญญาโทของข้าราชการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ด้านการย้ายหรือเปลียน สายงาน

ด้านการย้ายหรือเปลียนสายงาน ระดับความคิดเห็น

x S.D. แปลผล

1. ทําให้มีโอกาสได้เปลียนตําแหน่งงาน 3.35 0.88 ปานกลาง 2. ทําให้มีโอกาสในการขอโอนย้ายไปทํางานในสํานักอืน

ในหน่วยงานเดิม

3.16 0.90 ปานกลาง 3. ทําให้มีโอกาสในการขอโอนย้ายไปทํางานใน

หน่วยงานอืน

3.19 0.90 ปานกลาง 4. ทําให้มีโอกาสมากขึ=นในการเลือกงานใหม่ทีตรงกับ

ความรู้ทีได้ศึกษา

3.80 0.67 มาก

รวม 3.37 0.72 ปานกลาง

จากตารางที 5 พบว่า ข้าราชการมีความคิดเห็นต่อแรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาโท ด้านการย้ายหรือเปลียนสายงานในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X=3.37) โดยเห็นด้วยในระดับ

มากว่า การศึกษาต่อระดับปริญญาโททําให้มีโอกาสมากขึ,นในการเลือกงานใหม่ทีตรงกับความรู้

ทีได้ศึกษา (X= 3.80) มีความคิดเห็นในระดับปานกลางว่า ทําให้มีโอกาสได้เปลียนตําแหน่งงาน (X= 3.35) ทําให้มีโอกาสในการขอโอนย้ายไปทํางานในหน่วยงานอืน (X= 3.19) และทําให้มี

โอกาสในการขอโอนย้ายไปทํางานในสํานักอืนในหน่วยงานเดิม.(X= 3.16)

ตารางที 6 แสดงค่าเฉลีย (X) และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) แรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับ ปริญญาโทของข้าราชการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน.ด้านความก้าวหน้าใน งานและรายได้

ด้านความก้าวหน้าในงานและรายได้ ระดับความคิดเห็น

x S.D. แปลผล

1. การศึกษาต่อระดับปริญญาโท สามารถเลือนตําแหน่ง ให้สูงขึ=น

3.34 0.91 ปานกลาง 2. ท่านคิดว่า การศึกษาต่อระดับปริญญาโท จะทําให้ท่าน

มีความก้าวหน้าในอาชีพ

3.75 0.66 มาก

3. ท่านคิดว่า การศึกษาต่อปริญญาโท ทําให้มีความ มันคงในหน้าทีการงานมากขึ=น

3.68 0.65 มาก

4. ท่านศึกษาระดับปริญญาโท เพือให้ได้รับเงินเดือนมาก ขึ=น

3.17 1.01 ปานกลาง 5. ทําให้มีโอกาสได้รับการมอบหมายงานทีท้าทาย

ความสามารถ

3.66 0.67 มาก

รวม 3.52 0.60 มาก

จากตารางที 6 พบว่า ข้าราชการมีความคิดเห็นต่อแรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาโท ด้านความก้าวหน้าในงานและรายได้ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X= 3.52) โดยเห็นด้วยในระดับ มากว่าการศึกษาต่อระดับปริญญาโท จะทําให้ท่านมีความก้าวหน้าในอาชีพ (X= 3.75) ทําให้มี

ความมันคงในหน้าทีการงานมากขึ,น (X= 3.68) มีโอกาสได้รับการมอบหมายงานทีท้าทาย ความสามารถ (X= 3.66) มีความคิดเห็นในระดับปานกลางว่า การศึกษาต่อระดับปริญญาโท สามารถเลือนตําแหน่งให้สูงขึ,น (X=3.34) และเพือให้ได้รับเงินเดือนมากขึ,น.(X=3.17)