• Tidak ada hasil yang ditemukan

การศึกษาครังนี มีจุดมุ่งหมายเพือการศึกษาแรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาโทของ ข้าราชการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ซึงผู้ศึกษาได้ดําเนินการตามขันตอน ดังนี

1. รูปแบบการศึกษา 2. ประชากร

3. การเลือกกลุ่มตัวอย่าง 4. เครืองมือทีใช้ในการศึกษา 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล

6. สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

รูปแบบการศึกษา

การศึกษาครังนีเป็นการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) โดยมีวัตถุประสงค์เพือศึกษา แรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาโทของข้าราชการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์

พลังงาน

ประชากร

ประชากรทีใช้ในการศึกษาครังนี คือ ข้าราชการกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์

พลังงาน ได้แก่ ข้าราชการส่วนกลาง จํานวน 306 คน (ข้อมูลแผนกบุคคล กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจําเดือนมกราคม.2557)

การเลือกกลุ่มตัวอย่าง

การกําหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรการคํานวณของทาโรยามาเน่ (Taro-Yamane) จาก ขนาดประชากร จํานวน 306 คน

n = N 1 + Ne2

เมือ n แทน ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง N แทน ขนาดของประชากร

e แทน ความคลาดเคลือนของการสุ่มตัวอย่าง (ทีระดับความเชือมัน 95%)

เมือแทนค่าในสูตรจะได้

n = 306 1 + (306 x (0.05)2)

= 174 คน เครืองมือทีใช้ในการศึกษา

เครืองมือทีใช้ในการศึกษาวิจัยครังนี เป็นแบบสอบถาม(Questionnaires) ทังทีเป็น แบบสอบถามแบบปลายเปิด (Open-ended Question) และแบบปลายปิด (Close-ended Question) โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่

ส่วนที.1.เป็นแบบสอบถามเกียวกับข้อมูลส่วนบุคคลของข้าราชการกรม พัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ อายุราชการ ระดับตําแหน่งงาน รายได้ต่อ เดือน แหล่งทุนสนับสนุน

ส่วนที 2 เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกียวกับปัจจัยทีเป็นแรงจูงใจในการศึกษาต่อใน ระดับปริญญาโทของข้าราชการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ได้แก่ การพัฒนา ตนเอง คุณภาพงาน การย้ายหรือเปลียนสายงาน ความก้าวหน้าในงานและรายได้ การได้รับการ ยอมรับ ลักษณะคําถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบ่งเป็นดังนี

ระดับความคิดเห็น

5 หมายถึง มากทีสุด 4 หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง น้อย 1 หมายถึง น้อยทีสุด

ส่วนที 3 เป็นแบบสอบถามปลายเปิด (Open Ended) เพือให้ผู้ตอบแบบสอบถามแสดง ความคิดเห็นเกียวกับปัญหาและอุปสรรค รวมทังข้อเสนอแนะอืนๆ เกียวกับการศึกษาต่อระดับ ปริญญาโท

ผู้ศึกษาดําเนินการสร้างแบบสอบถามโดยขันตอนในการสร้าง ดังนี

ขันที 1 ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดต่างๆ จากหนังสือ เอกสารทางวิชาการ ทฤษฏี และ งานวิจัยต่างๆ ทีเกียวกับแรงจูงใจ เพือกําหนดเป็นแนวทางในการสร้างแบบสอบถาม

ขันที 2 ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถาม เพือกําหนดกรอบเกียวกับแรงจูงใจในการศึกษา ต่อระดับปริญญาโทของข้าราชการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ให้ครอบคลุม เนือหาในด้านต่างๆ ดังนี

1. การพัฒนาตนเอง 2. คุณภาพงาน

3. การย้ายหรือเปลียนสายงาน 4. ความก้าวหน้าในงานและรายได้

5. การได้รับการยอมรับ

ขันที 3 สร้างแบบสอบถามเป็น.3.ส่วน

ส่วนที 1 เป็นคําถามเกียวกับปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ อายุราชการ ระดับตําแหน่งงาน รายได้ต่อเดือน.แหล่งทุนสนับสนุน

ส่วนที 2 เป็นคําถามความคิดเห็นเกียวกับปัจจัยทีเป็นแรงจูงใจในการศึกษาต่อในระดับ ปริญญาโทของข้าราชการกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ได้แก่ การพัฒนาตนเอง คุณภาพงาน การย้ายหรือเปลียนสายงาน ความก้าวหน้าในงานและรายได้ การได้รับการยอมรับ

ส่วนที 3 เป็นแบบสอบถามปลายเปิด (Open Ended) เพือให้ผู้ตอบแบบสอบถามแสดง ความคิดเห็นเกียวกับปัญหาและอุปสรรค รวมทังข้อเสนอแนะอืนๆ เกียวกับการศึกษาต่อระดับ ปริญญาโท

ขันที 4 นําแบบสอบถามทีสร้างขึนให้อาจารย์ทีปรึกษาเพือตรวจสอบความถูกต้อง เทียงตรง เชิงเนือหา ภาษาทีใช้ และปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามและจัดพิมพ์

การเก็บรวบรวมข้อมูล

หลังจากทีผู้ศึกษาได้รวบรวมแนวความคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยทีเกียวข้องเพือนําเป็น แนวทางในการสร้างเครืองมือทีใช้ในการศึกษาตามกรอบแนวคิดโดยได้ดําเนินเก็บรวบรวมข้อมูล อย่างเป็นขันตอน ดังนี

1. ผู้ศึกษาได้นําแบบสอบถามไปแจกให้กับข้าราชการ จํานวน.174 ชุด โดยให้ผู้ตอบ แบบสอบถามด้วยตัวเอง

2. จัดเก็บและรวบรวมแบบสอบถามทีสมบูรณ์ด้วยตนเอง 3. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของคําตอบในแบบสอบถาม

4. จัดหมวดหมู่ของข้อมูลในแบบสอบถาม เพือนําไปวิเคราะห์ทางสถิติ

สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้ศึกษานําข้อมูลทีได้มาประมวลผลและวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูป โดยในการศึกษาครังนีจะใช้โปรแกรม Statistical Package for the Social Sciences หรือ SPSS ซึง เป็นโปรแกรมทีนิยมใช้แพร่หลายมากทีสุดสําหรับการวิเคราะห์ทางสถิติ โดยข้อมูลจะถูกนํามา วิเคราะห์ ดังนี

1. ใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลีย (X) และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.).ในการอธิบาย ข้อมูล

2. กําหนดเกณฑ์วัดระดับความคิดเห็นต่อแรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาโท.โดย ใช้เกณฑ์ในการคํานวณ ดังนี

คะแนนสูงสุด - คะแนนตําสุด จํานวนชัน

= 5 – 1 5

= 0.8

โดยกําหนดระดับแรงจูงใจเป็น 5 ระดับ ดังนี

1.00 – 1.80 หมายถึง น้อยทีสุด 1.81 – 2.60 หมายถึง น้อย 2.61 – 3.40 หมายถึง ปานกลาง 3.41 – 4.20 หมายถึง มาก 4.21 – 5.00 หมายถึง มากทีสุด