• Tidak ada hasil yang ditemukan

การสังเคราะห์ขั้นการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์

ขั้นการจัดการ เรียนรู้ตาม รูปแบบของ

บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์

ขั้นการจัดการรู้

ตามรูปแบบของ Driver and Bell

ขั้นการจัดการ เรียนรู้ตาม รูปแบบของ พจนา ทรัพย์

สมาน

ขั้นการจัดการเรียนรู้

ตามรูปแบบของ ส านักงาน คณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ

ขั้นการจัดการ เรียนรู้ตาม รูปแบบของกรม

วิชาการ

ขั้นการจัดการ เรียนรู้เพื่อการ พัฒนารูปแบบ การเรียนรู้การ อ่านภาษาอังกฤษ 1. ขั้นปฐม นิเทศ

2. ขั้นท าความ เข้าใจ 3. ขั้นจัด โครงสร้าง แนวคิดใหม่

3.1 ท าแนว ความคิดให้

กระจ่างชัดเจน

1. ขั้นน า 2. ขั้นทบทวน ความรู้เดิม 3. ขั้นปรับเปลี่ยน ความคิด 3.1 ท าความ กระจ่างและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้

1. ขั้นจุดประกาย ความสนใจ 2. ขั้นวางแผน การเรียนรู้

3. ขั้นลงมือ เรียนรู้ตามแผน 4. ขั้นน าเสนอ ข้อมูลการเรียนรู้

5. จัดท าชิ้นงาน

1. ขั้นปฐม นิเทศ 2. ขั้นท าความ เข้าใจ 3. ขั้นจัด โครงสร้าง แนวคิดใหม่

3.1 สร้างสรรค์

ความรู้ความ เข้าใจใหม่

1. ขั้นปฐมนิเทศ 2. ขั้นกระตุ้นให้

เกิดความคิด 3. ขั้นสร้างความรู้

ใหม่

4. ขั้นทดลองใช้

ความรู้ใหม่

5. ขั้นทบทวน ความรู้ใหม่

1. ขั้นกระตุ้น ความสนใจ (Stimulus) 2 ขั้นทบทวน ความรู้เดิม (Review Prior knowledge) 3. ขั้นสร้างความรู้

ใหม่ (Create 3.2 การสร้าง

แนวคิดใหม่

3.3 การประเมิน แนวความคิดใหม่

4. การน าเสนอ ความคิดไปใช้

5. การทบทวน

3.2 สร้าง ความคิดใหม่

3.3 ประเมิน ความคิดใหม่

4. ขั้นน าความคิด ไปใช้

5. ขั้นทบทวน

3.2 เขียนผัง ความคิด รวบยอด 3.3 ตรวจสอบ ความเข้าใจ 4. ขั้นน าแนวคิด ไปใช้

5. ขั้นทบทวน หรือ เปรียบเทียบ ความรู้

Knowledge) -กระตุ้นให้เกิด ความคิดใหม่

-แลกเปลี่ยน เรียนรู้

-น าเสนอความรู้

ใหม่

- ประเมินความรู้

4. ขั้นทบทวน ความรู้ใหม่

(Review of new Knowledge) 5. ขั้นประยุกต์ใช้

(Application)

76 จากตาราง 11 การสังเคราะห์ขั้นการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์

สามารถน ามาจัดเป็นขั้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์

เพื่อเสริมสร้างความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ได้เป็นขั้นการสอน 5 ขั้น ดังนี้

1. ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Stimulus) เป็นกิจกรรมสร้างความรู้สึกอยากรู้

อยากเรียน เรียนอย่างมีจุดมุ่งหมายโดยการสร้างแรงจูงใจในการเรียนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการอยากรู้

อยากเรียน มีความกระตือรือร้นในการเรียน ผู้เรียนเห็นคุณค่าความส าคัญและประโยชน์ของ สิ่งที่จะเรียน ครูใช้กิจกรรมที่หลากหลายกระตุ้นให้ผู้เรียนอยากเรียนรู้ เช่น การใช้เกม ข่าว กรณีตัวอย่าง ประสบการณ์จริง รูปภาพ แผนผัง เป็นต้น ที่มีเนื้อหาสาระสอดคล้องกับสิ่งที่จะเรียน เพื่อน ามาคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ร่วมกัน โดยครูใช้ค าถามกระตุ้นให้ผู้เรียนมีกระบวนการคิดเป็นล าดับ ขั้นและทุกคนได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็น ตัดสินใจอย่างมีเหตุผล

2. ขั้นที่ 2 ทบทวนความรู้เดิม (Review Prior Knowledge) เป็นขั้นที่ครูสร้างกิจกรรม การเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้แสดงออกถึงความรู้ที่มีอยู่เดิมเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนรู้ ครูใช้กิจกรรมกระตุ้นให้

ผู้เรียนแสดงความรู้เดิมด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การใช้ค าถาม การอภิปราย การท าแบบฝึก ก่อนเรียน เป็นต้น เพื่อเป็นการเชื่อมโยงความรู้หรือประสบการณ์เดิมของผู้เรียนที่มีก่อนที่จะเรียนรู้

เนื้อหาใหม่

3. ขั้นที่ 3 สร้างความรู้ใหม่ (Create Knowledge) เป็นขั้นที่เกิดการสร้าง องค์ความรู้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางความคิดระหว่างกันของผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ ทั้งการอภิปราย การเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่ม สาธิต และวิธีการอื่นๆ ที่ท าให้ผู้เรียนได้

แนวทางการเรียนรู้ที่หลากหลาย แล้วสร้างความรู้ความเข้าใจขึ้นมาใหม่หรือสร้างความคิดใหม่

ครูท าหน้าที่อ านวยความสะดวกในการเตรียมสื่อการเรียนรู้ การใช้ค าถามกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดและ ปฏิบัติ และครูต้องสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ด้วยการเสริมแรงให้ก าลังใจ ซึ่งการลงมือปฏิบัติผู้เรียน จะได้รับการพัฒนาทักษะกระบนการคิด ทักษะการท างานร่วมกับผู้อื่น ทักษะทางสังคม

เกิดการเรียนรู้และจดจ าได้นาน ท าให้คิดวิเคราะห์แยกแยะสิ่งต่างๆ ได้อย่างมีเหตุผล เป็นการเรียนรู้

จากประสบการณ์ตรง ปฏิบัติด้วยตนเองท าให้เกิดความภาคภูมิใจในตนเองและมีก าลังใจที่จะเรียนรู้

โดยแบ่งเป็นขั้นย่อยๆ ดังนี้

3.1 กระตุ้นให้เกิดความคิดใหม่ เป็นการสร้างสรรค์ความรู้ขึ้นใหม่ เป็นกิจกรรม ที่ผู้สอนช่วยให้ผู้เรียนเกิดความคิดรวบยอดใหม่หรือการสร้างความคิดรวบยอดที่ยังไม่สมบูรณ์ขึ้นใหม่

ตลอดจนขยายไปสู่แบบจ าลองความคิดรวบยอดของตนเอง โดยผู้สอนต้องเป็นผู้ช่วยเหลือและร่วม วินิจฉัยให้ค าแนะน าหรือให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ช่วยเหลือในการตัดสินใจเมื่อเกิดปัญหาหรือเกิด ความขัดแย้งทางความคิด อ านวยความสะดวกเกี่ยวกับความคิดของนักเรียนว่าถูกต้องหรือไม่

หรือคอยเป็นผู้กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดที่สมบูรณ์ขึ้นมาใหม่ โดยขั้นนี้ครูผู้สอนต้องให้ก าลังใจ

77 ให้การเสริมแรง เพื่อให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจในการอยากรู้อยากเรียนในสิ่งใหม่ๆ เพื่อเป็นการสร้าง ความรู้ใหม่ด้วยตัวของนักเรียนเอง

3.2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นการน าความรู้ที่ได้จากการศึกษาในขั้นกระต้นให้เกิด ความคิดใหม่มาแลกเปลี่ยนระหว่างกันเพื่อหาข้อสรุปความรู้ร่วมกันหาข้อบกพร่องเพื่อแก้ไขปรับปรุง ร่วมกัน

3.3 น าเสนอความรู้ใหม่ เป็นการน าความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนมาอภิปราย ร่วมกันเป็นกลุ่มหรืออาจมีกิจกรรมที่หลากหลายให้สมาชิกแสดงความคิดเห็นในการเสนอความรู้ใหม่ที่

ได้ เพื่อเป็นการสรุปความคิดหรือความรู้ใหม่ เช่น การน าเสนอโดยการอภิปราย การแสดงผังความคิด ร่วมกัน

3.4 ประเมินความรู้ เป็นการตรวจสอบความเข้าใจ โดยการประเมินผล

การเรียนรู้หลังจากที่นักเรียนได้ช่วยกันสร้างความคิดความรู้ใหม่ขึ้นด้วยตนเองแล้ว ต้องมีการประเมิน ว่านักเรียนเข้าใจหรือไม่ เป็นการประเมินด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น ท าแบบฝึก ใบงาน

ท าแบบทดสอบ เขียนผังความคิด สาธิต เป็นต้น

4. ขั้นที่ 4 ทบทวนความรู้ใหม่ (Review of New Knowledge) เป็นขั้น การตรวจสอบความคิดความรู้ใหม่ด้วยหลักฐานและข้อมูลสนับสนุน เป็นการสะท้อนความคิดของ ผู้เรียนว่าแนวคิดของตนได้เปลี่ยนแปลงไปจากก่อนเริ่มเรียนรู้หรือไม่อย่างไร โดยอาจเขียนหรือ วาดภาพเพื่อเปรียบเทียบระหว่างความคิดก่อนและหลังการเรียนรู้ในบทเรียนนั้น ท าให้เกิด การเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม การที่ผู้เรียนได้สร้างความรู้ด้วยตนเองจะท าให้เกิดโครงสร้าง ทางปัญญา ซึ่งจะท าให้ผู้เรียนจ าได้อย่างถาวร อันเป็นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย

5. ขั้นที่ 5 ประยุกต์ใช้ (Application) เป็นขั้นที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนน าความรู้หรือ แนวความคิดใหม่ที่สร้างขึ้นไปใช้ในสถานการต่างๆ ที่หลากหลายทั้งที่คุ้นเคยและแปลกใหม่

หรือเป็นการประมวลความรู้ที่เรียนรู้จากบทเรียนทั้งหมดน าเสนอความรู้ในรูปแบบต่างๆ บทบาทของครูตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึ่ม

โครงการพัฒนาครูเกี่ยวกับการเรียนการสอนในประเทศนิวซีแลนด์ได้เสนอแนะบทบาท ใหม่ของครูในการเรียนการสอนที่พิจารณาถึงความคิดเดิมของนักเรียนเป็นหลักว่าครูควรมีบทบาท ดังนี้ (วรรณทิพา รอดแรงค้า, 2540)

1. ครูเปรียบเหมือนนักวิจัย

ครูที่พิจารณาความคิดของนักเรียนจะค้นหาหรือท าวิจัยว่านักเรียนก าลังคิดอะไร เพราะฉะนั้นในขณะที่สอนครูจะฟังความคิด ฟังการอภิปราย และฟังค าถามของนักเรียนครูจะให้

78 คุณค่าและคอยฟังสิ่งที่นักเรียนพูดเกี่ยวกับสิ่งที่เขาคิด ในขณะที่ฟังนักเรียนพูดครูก าลังช่วยให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ครูอาจใช้กิจกรรม เช่น การอภิปรายกลุ่ม การส ารวจ

2. ครูเปรียบเหมือนผู้อ านวยความสะดวกในการเรียนรู้ของนักเรียน คือ 2.1 ค้นหาว่านักเรียนก าลังคิดอะไร

2.2 ทักทายความคิดของนักเรียน

2.3 ช่วยนักเรียนค้นหาค าตอบเพื่อตัวนักเรียนเองท าให้นักเรียน “คิด”

2.4 ส่งเสริมการอภิปรายในชั้นเรียน 2.5 จัดกลุ่มการเรียน

2.6 ยอมรับความคิดของนักเรียน

2.7 สร้างบรรยากาศที่สนับสนุนและบรรยากาศแห่งความห่วงใยเพื่อการเรียนรู้

2.8 จูงใจและกระตุ้นให้นักเรียนเรียน

3. ครูเปรียบเหมือนผู้ตอบสนอง ครูตอบสนองความคิดและถามในสิ่งที่นักเรียนท า พูด และเขียน ครูค้นหาปฏิสัมพันธ์ที่มีการตอบสนองและการแลกเปลี่ยนปฏิสัมพันธ์กับนักเรียน ครูต้องการที่จะรู้ความคิดของนักเรียน ครูจะสื่อความหมายด้วยวิธีการต่างๆ ซึ่งคิดว่ามีคุณค่าต่อสิ่งที่

นักเรียนก าลังคิดครูให้ข้อมูลกับนักเรียนเพื่อท าให้นักเรียนคิดและครูจะมีปฏิสัมพันธ์กับความคิดของ นักเรียน

4. การสอนเปรียบเหมือนการประเมินความคิดของนักเรียน ครูประเมินความคิดของ นักเรียนเพื่อการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนา

5. การสอนเปรียบเหมือนการจัดการเรียนรู้ ครูเป็นผู้จัดการการเรียนรู้ไม่ใช่เพียงเพื่อ พฤติกรรมที่ดีเท่านั้น การจัดการเรียนรู้นี้ รวมทั้งการวางแผนเพื่อพิจารณาความคิดของนักเรียน ความคิดเกี่ยวกับการจัดกลุ่มนักเรียน การจัดความสะดวกในการอภิปรายและการช่วยเหลือนักเรียน แต่ละคน ครูเป็นผู้จัดกิจกรรมภายในห้องเรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่ดีขึ้น ผลิตผลจากการเรียนรู้ที่ดี

ขึ้นและเงื่อนไขจากการเรียนรู้ที่ดีขึ้น ความสนุกสนานที่เพิ่มขึ้น ความร่วมมือทางสังคม ความเป็น เจ้าของการเรียนรู้ และการเพิ่มความเชื่อมั่นในตัวนักเรียนซึ่งจากผลที่ตามมาครูจะพบว่าตัวเขาเองใช้

เวลาน้อยลงในการจัดการเกี่ยวกับพฤติกรรมความตั้งใจเรียนและใช้เวลามากขึ้นในการแสดง ปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนในการค้นหาความคิดของนักเรียน ข้อสงสัยของนักเรียนและความเข้าใจของ นักเรียน

การประเมินผลตามทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์

วรรณทิพา รอดแรงค้า (2540) ได้กล่าวถึง การประเมิน ผลการเรียนการสอนตามแนว ทฤษฏี Constructivism ครูต้องพิจารณาถึงชนิดของข้อมูลย้อนกลับที่ตัวครูและนักเรียนทั้งก่อน