• Tidak ada hasil yang ditemukan

องค์ประกอบของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

องค์ประกอบ

ของรูปแบบการเรียนรู้ สาระส าคัญ

แนวคิดและทฤษฎี

พื้นฐาน

ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมหรือพิพัฒนนิยม หรือวิวัฒนาการนิยม (Progressivism)

ทฤษฎีการเรียนรู้ในด้าน Cognitive ที่ใช้ Constructivism Approach ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (Meaningful Learning) ของ Ausubel

ทฤษฎีการถ่ายโยงความรู้ (Transfer of Learning)

หลักการจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางแบบเน้นทฤษฏี

Constructivism

วัตถุประสงค์ 1. นักเรียนมีความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ 2. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ

ขั้นตอนการสอน ขั้นน า (Orientation)

ขั้นทบทวนความรู้เดิม (Elicitation of the Prior Knowledge) ขั้นปรับเปลี่ยนความคิด (Turning Restructuring of Ideas) ท าความกระจ่างและแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ระหว่างกันและกัน (Clarification and Exchange of Ideas)

สร้างความคิดใหม่ (Construction of New Ideas) ประเมินความคิดใหม่ (Evaluation of New Ideas) ขั้นน าความคิดไปใช้ (Application of Ideas) ขั้นทบทวน (Review)

ระบบสังคม บทบาทครู-เตรียมหน่วยการเรียนและกิจกรรมการเรียนรู้

บทบาทนักเรียน-ด าเนินกิจกรรมการเรียนรู้ภายใต้ค าปรึกษาของครู

หลักการตอบสนอง 1. การเสนอตัวแบบ 2. การจูงใจให้แรงเสริม 3. การปฏิบัติตามตัวแบบ

ระบบสนับสนุน 1. การจัดสิ่งแวดล้อมทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน 2. สื่อและแหล่งเรียนรู้

3. ความร่วมมือจากครูและผู้ปกครอง

102 2.1 เขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎี Constructivism เรื่อง Asean Tradition ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ านวน 5 แผน เวลาในการสอนแผนละ 4 คาบ รวมเวลา สอนทั้งหมด 20 คาบ โดยมีเนื้อหา ดังนี้

2.1.1 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ASEAN Member States 2.1.2 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง National Dishes of ASEAN 2.1.3 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง Festival of ASEAN

2.1.4 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง National Animals of ASEAN Countries

2.1.5 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง National Costume of ASEAN

2.2 ก าหนดรูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Asean Tradition ของ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามทฤษฎี Constructivism ซึ่งรายละเอียดของแผนจัดการเรียนรู้

ประกอบด้วย

2.2.1 หน่วยการเรียนรู้

2.2.2 มาตรฐานการเรียนรู้

2.2.3 ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

2.2.4 สาระการเรียนรู้

2.2.5 กิจกรรมการเรียนรู้

2.2.6 สื่อและแหล่งการเรียนรู้

2.2.7 กระบวนการวัดและประเมินผล

2.3 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Asean Tradition ของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามทฤษฎี Constructivism ตามรูปแบบที่ก าหนด

2.4 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเสนอต่อประธานและกรรมการควบคุม วิทยานิพนธ์เพื่อพิจารณาตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมของเนื้อหาสาระส าคัญ จุดประสงค์

การเรียนรู้เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมสื่อการเรียนรู้การวัดประเมินผลและน าแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้มาปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของประธานและกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์

2.5 น าแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านการตรวจสอบและปรับปรุงแล้ว พร้อมแบบประเมินความเหมาะสมของเนื้อหาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญเพื่อพิจารณา ตรวจสอบคุณภาพด้านความเหมาะสมความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและประเมินแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แต่ละแผนจ านวน 5 ท่าน ประกอบด้วย

103 2.5.1 นางสาวพิศินาฏ ศรีโชติ ต าแหน่ง ครูวิทยฐานะ คศ.2 วุฒิการศึกษา การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ สถานที่ท างานโรงเรียนบ้านวังหมี ต าบลวังหมี

อ าเภอวังน้ าเขียว สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3

2.5.2 นางสาวพิชามญชุ์ ค าแก้ว ต าแหน่ง ครูวิทยฐานะ คศ.2 วุฒิการศึกษา การศึกษามหาบัณฑิต หลักสูตรนวัตกรรมหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ สถานที่ท างานโรงเรียนบ้านวังหมี ต าบลวังหมี อ าเภอวังน้ าเขียว สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3

2.5.3 นางสาวสุภาภรณ์ คูณขุนทด ต าแหน่ง ครูวิทยฐานะ คศ.3

วุฒิการศึกษา การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน สถานที่ท างานโรงเรียนวังหมี

พิทยาคม ต าบลวังหมี อ าเภอวังน้ าเขียว สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา

2.5.4 นางสาวอมรรัตน์ สุวรรณา ต าแหน่ง ครูวิทยฐานะ คศ.3 วุฒิการศึกษา การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน สถานที่ท างานโรงเรียนสะแกราชธวัชศึกษา อ าเภอปักธงชัย สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา

2.5.5 นางสาวเอมอร ศรีวรชินต าแหน่ง ครูวิทยฐานะ คศ.3 วุฒิการศึกษา การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน สถานที่ท างานโรงเรียนสะแกราชธวัชศึกษา อ าเภอปักธงชัย สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา

2.6 ปรับปรุงแก้ไขแผนการจัดการเรียนรู้ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ และน าผลการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าเฉลี่ยเทียบกับเกณฑ์ซึ่งเป็น คะแนนที่ค านวณจากแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 อันดับ (ล้วน สายยศ และคณะ, 2543) ดังนี้

ค่าเฉลี่ย 4.51-5.00 หมายถึง ความเหมาะสมมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.51-4.50 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก ค่าเฉลี่ย 2.51-3.50 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยที่สุด โดยก าหนดค่าเฉลี่ยที่มีค่าตั้งแต่ 3.51 ขึ้นไปจึงจะถือว่าเป็น

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ได้ ผลการพิจารณาตรวจสอบความถูกต้องชัดเจนของภาษาความยากง่าย ของเนื้อหาและความเหมาะสมของเวลาในการจัดกิจกรรมและสอดคล้องกับกรอบแนวคิดของการ จัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นจากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ที่

ผู้วิจัยสร้างขึ้นในภาพรวม มีคุณภาพอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด (X = 4.59) (ดังภาคผนวก ข)

104 2.7 น าแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญแล้วว่ามีคุณภาพ อยู่ในเกณฑ์ที่สามารถน าไปใช้เป็นเครื่องมือในการวิจัยได้ แล้วน าไปทดลองใช้ (Try Out) กับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวังน้ าเขียวพิทยาคมซึ่งเรียนในวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ 33101) ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างเพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมสื่อการเรียนการสอน ความยากง่ายความเป็นไปได้ในการน าไปปฏิบัติและความต่อเนื่องของกิจกรรมการเรียนรู้

2.8 น าแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผ่านการทดลองและปรับปรุงแล้วจัดพิมพ์

เป็นฉบับสมบูรณ์และน าไปใช้เป็นเครื่องมือในการวิจัยเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างต่อไป 3. การสร้างและการหาคุณภาพแบบทดสอบวัดการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษ ลักษณะข้อสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก เพื่อความเข้าใจ ผู้วิจัยได้ด าเนินการ ดังนี้

3.1 ศึกษาเทคนิควิธีการสร้างแบบทดสอบที่ดีและวิธีการคิดวิเคราะห์ข้อสอบจาก หนังสือวิจัยหลักสูตรและการสอนของ (ชวลิต ชูก าแพง, 2551)

3.2 ศึกษารายละเอียดสาระส าคัญการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3

3.3 ก าหนดขอบเขตสาระส าคัญในการออกข้อสอบวัดให้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้

ที่คาดหวัง

3.4 สร้างตารางวิเคราะห์ข้อสอบดังตาราง 13