• Tidak ada hasil yang ditemukan

การเปรียบเทียบข้อค าถามของรายการประเมินความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของแบบวัด

ความปลอดภัยทางดิจิทัล ก่อนและหลัง ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดผล

รายการประเมิน จ านวนข้อก่อน

ประเมิน

จ านวนข้อหลัง ประเมิน หัวข้อที่ 1 การเห็นคุณค่าของการใช้เวลาบนโลกดิจิทัลอย่าง

สมดุลต่อร่างกาย (คะแนนเต็ม 14 คะแนน) 5 3

หัวข้อที่ 2 การเห็นคุณค่าของการบริหารข้อมูลส่วนตัวให้

ปลอดภัย (คะแนนเต็ม 14 คะแนน) 5 3

หัวข้อที่ 3 การเห็นคุณค่าของการบริหารร่องรอยดิจิทัลอย่าง

ปลอดภัย (คะแนนเต็ม 14 คะแนน) 5 3

หัวข้อที่ 4 การเห็นคุณค่าของการป้องกันตัวเองจากภัยคุกคาม

ทางดิจิทัล (คะแนนเต็ม 14 คะแนน) 5 3

หัวข้อที่ 5 การเห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนเพื่ออยู่ร่วมกับคนอื่น

ในโลกดิจิทัลอย่างสงบสุข(คะแนนเต็ม 14 คะแนน) 5 3

2.3.4 น าแบบวัดความฉลาดทางดิจิทัล ของผู้เข้าชมนิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความ ฉลาดทางดิจิทัลด้านการรักษาความปลอดภัยทางดิจิทัลเสนอผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดผล 3 ท่าน เพื่อพิจารณาเกี่ยวกับความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Index of Congruence : IOC) โดยมีเกณฑ์การ ก าหนดคะแนนความคิดเห็นดังนี้

+1 หมายถึงว่า ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นว่า แบบวัดมีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหากับ เนื้อหาที่ต้องการวัด

0 หมายถึงว่า ผู้เชี่ยวชาญไม่แน่ใจว่า แบบวัดนั้นมีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหากับ เนื้อหาที่ต้องการวัดหรือไม่

-1 หมายถึงว่า ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นว่า แบบวัดไม่มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา กับเนื้อหาที่ต้องการวัดเลย

โดยมีเกณฑ์การประเมินดังนี้ ผลการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า 0.50 จะถือว่าข้อค าถามของแบบวัดความฉลาดทางดิจิทัลนั้นมีคุณภาพ สามารถน าไปใช้ได้

เมื่อพบว่าค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC) ที่ได้มีค่า 1.00 ทุกข้อค าถาม แสดงว่า แบบวัดความฉลาดทางดิจิทัล ของผู้เข้าชมนิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลด้าน การรักษาความปลอดภัยทางดิจิทัลที่สร้างขึ้นนั้นมีข้อค าถามที่เหมาะสมต่อการน าไปใช้งาน จ านวน 15 ข้อ

3. เก็บรวบรวมข้อมูล

ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยด าเนินการในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดยใช้ระยะเวลา จัดนิทรรศการมีชีวิตเพื่อส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลด้านการรักษาความปลอดภัยทางดิจิทัลและ ให้เวลากลุ่มตัวอย่างในการเข้าชมนิทรรศการมีชีวิตฯบนเว็บไซต์เป็นเวลา 5 วันตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน ถึงวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2565 โดยมีล าดับการด าเนินงานดังนี้

3.1 ผู้วิจัยชี้แจงวิธีการเข้าชมนิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลด้านการ รักษาความปลอดภัยทางดิจิทัล ให้แก่อาสาสมัครผ่านช่องทางออนไลน์การเรียนวิชา ศษ381 สื่อ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ (ED381 Media and Technology for Education and Learning) โดยก าหนดระยะเวลาการเข้าชมระหว่าง วันที่ 15 กันยายน ถึงวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2565 เป็นเวลาทั้งหมด 5 วัน

3.2 หลังเข้าชมนิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลด้านการรักษาความ ปลอดภัยทางดิจิทัลและท าแบบวัดความฉลาดทางดิจิทัลของความฉลาดทางดิจิทัล 5 ด้านใน เว็บไซต์ ผู้วิจัยจะน าผลของแบบวัดไปวิเคราะห์สถิติพื้นฐานและสถิติ t-test แบบ One Sample เพื่อทดสอบสมมติฐานของการวิจัย

4. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

4.1 ค่าความเที่ยงตรงของแบบประเมินจากค่าดัชนีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Index of Congruence : IOC) ใช้เป็นเกณฑ์ในแบบประเมินต่าง ๆ ได้แก่ แบบประเมินคุณภาพของการจัด แสดงนิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลด้านการรักษาความปลอดภัยทางดิจิทัล รวมถึงความสอดคล้องของข้อค าถามของเครื่องมือวิจัย โดยมีรายละเอียดดังนี้

IOC =

ตัวแทน ΣR แทน ผลรวมของคะแนนการพิจารณาจาก N

ผู้เชี่ยวชาญ

N แทน จ านวนของผู้เชี่ยวชาญ

โดยมีเกณฑ์การตัดสินค่า IOC ที่เหมาะสมคือผลลัพธ์ IOC ที่มีค่า 0.50 ขึ้นไปแสดงว่า เนื้อหาของแบบประเมินนั้นมีความเหมาะสมที่จะน าไปใช้งาน

4.2 สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย ส าหรับการวิเคราห์คะแนนของแบบวัดความ ฉลาดทางดิจิทัลของผู้เข้าชมนิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัล

4.3 สถิติ One sample T-Test เพื่อใช้หาค่าเฉลี่ยกับข้อมูลที่มีกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม โดย ในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยใช้กลุ่มข้อมูลของประชากรที่ได้มาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ 70% ของคะแนนเต็ม คือ 10

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาการจัดแสดงนิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัล ด้านการรักษาความปลอดภัยทางดิจิทัล มีการวิเคราะห์ข้อมูลตามจุดประสงค์ดังนี้

ตอนที่ 1 เพื่อพัฒนานิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลด้านการรักษา ความปลอดภัยทางดิจิทัล

ผลการพัฒนานิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลด้านการรักษา ความปลอดภัยทางดิจิทัล

ตอนที่ 2 เพื่อประเมินคุณภาพนิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลด้าน การรักษาความปลอดภัยทางดิจิทัล

ผลการประเมินคุณภาพนิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลด้าน การรักษาความปลอดภัยทางดิจิทัล

ตอนที่ 3 เพื่อศึกษาความฉลาดทางดิจิทัลด้านการรักษาความปลอดภัยทางดิจิทัล 3.1 ผลคะแนนความฉลาดทางดิจิทัลของผู้เข้าชมนิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริม ความฉลาดทางดิจิทัลด้านการรักษาความปลอดภัยทางดิจิทัล

3.2 ผลการทดสอบสมมติฐาน

โดยผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือคือตัวนิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลด้านการ รักษาความปลอดภัยทางดิจิทัล และ แบบวัดคุณภาพของนิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาด ทางดิจิทัลด้านการรักษาความปลอดภัยทางดิจิทัล และแบบวัดความฉลาดทางดิจิทัลของผู้เข้าชม นิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลด้านการรักษาความปลอดภัยทางดิจิทัล โดย ผู้วิจัยมีการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้

ตอนที่ 1 เพื่อพัฒนานิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลด้านการรักษาความ ปลอดภัยทางดิจิทัล

ผลการพัฒนานิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลด้านการรักษา ความปลอดภัยทางดิจิทัล

ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมความฉลาดทาง ดิจิทัล ร่วมกับการออกแบบเว็บไซต์เพื่ออกแบบนิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัล ด้านการรักษาความปลอดภัยทางดิจิทัล โดยมีการจัดแสดงสื่อต่าง ๆ ตามเนื้อหาของนิทรรศการมี

ชีวิตในเว็บไซต์ด้านละ 1 หน้า รวมกับการแนะน าเนื้อหาของนิทรรศการเป็นรายหัวข้อที่หน้า เว็บไซต์หน้าหลัก เป็นจ านวนทั้งหมด 6 หน้า และมีการจัดวางตามแผนผังของเว็บไซต์ดัง ภาพประกอบที่ 15 และมีการจัดวางเนื้อหาดังภาพประกอบที่ 16, 17, 18, 19, 20, 21, 22, 23, 24, 25

ภาพประกอบ 15 แผนผังเว็บไซต์ที่ใช้จัดแสดงนิทรรศการมีชีวิตที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัล ด้านการรักษาความปลอดภัยทางดิจิทัล

เว็บไซต์

หน้าแรก

ด้านการเห็นคุณค่าของ การใช้เวลากับโลกดิจิทัล

อย่างสมดุล

ด้านการเห็นความส าคัญ ของการจัดเก็บข้อมูล

ส่วนตัวที่ปลอดภัย

ด้านการเห็นคุณค่าของ การหลีกเลี่ยงการบันทึก ร่องรอยดิจิทัลที่ไม่

ปลอดภัย ด้านการเห็นคุณค่าในการ

ป้องกันตัวจากภัยคุกคาม ทางดิจิทัลส าหรับตนเอง

ด้านการเลือกปฏิบัติตน เพื่ออยู่ร่วมกับผู้อื่นในโลก

ดิจิทัลอย่างสันติ

สื่อวีดิทัศน์, เกม,

โปสเตอร์อินโฟ กราฟิก, เนื้อหา

แบบวัดความฉลาดทาง ดิจิทัล ด้านการเห็นคุณค่า ของการใช้เวลากับโลกดิจิทัล

อย่างสมดุล สื่อวีดิทัศน์, เกม,

โปสเตอร์อินโฟ กราฟิก, เนื้อหา

สื่อวีดิทัศน์, เกม,

โปสเตอร์อินโฟ กราฟิก, เนื้อหา

สื่อวีดิทัศน์, เกม,

โปสเตอร์อินโฟ กราฟิก, เนื้อหา

สื่อวีดิทัศน์, เกม,

โปสเตอร์อินโฟ กราฟิก, เนื้อหา

แบบวัดความฉลาดทาง ดิจิทัล ด้านการเห็น ความส าคัญของการจัดเก็บ

ข้อมูลส่วนตัวที่ปลอดภัย แบบวัดความฉลาดทาง ดิจิทัล ด้านการเห็นคุณค่า ของการหลีกเลี่ยงการบันทึก ร่องรอยดิจิทัลที่ไม่ปลอดภัย แบบวัดความฉลาดทาง ดิจิทัล ด้านการเห็นคุณค่าใน

การป้องกันตัวจากภัย คุกคามทางดิจิทัลส าหรับ

ตนเอง แบบวัดความฉลาดทาง ดิจิทัล ด้านการเลือกปฏิบัติ

ตนเพื่ออยู่ร่วมกับผู้อื่นในโลก ดิจิทัลอย่างสันติ

ภาพประกอบ 9 ล าดับการวางสื่อและเนื้อหาด้านการเห็นคุณค่าของการใช้เวลากับ โลกดิจิทัลอย่างสมดุล

ด้านการเห็นคุณค่าของการใช้เวลากับโลก ดิจิทัลอย่างสมดุล

ความจ าเป็นของการจัดสรรเวลาบนโลกดิจิทัล

วิธีจัดสรรเวลาการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลอย่างเหมาะสม วีดิทัศน์และเนื้อหาบรรยาย การจัดสรรเวลา คือ?”

กิจกรรมเกม นาฬิกาสะท้อนเวลา และภาพประกอบ

วีดิทัศน์และโปสเตอร์อินโฟกราฟิก วิธีการจัดสรรเวลา

กิจกรรม ใช้นานสะท้านร่างกาย

กิจกรรมเกม คลีนิคปรึกษาปัญหาดิจิทัล

แบบวัดความฉลาดทางดิจิทัล ด้านการเห็นคุณค่าของการใช้เวลา กับโลกดิจิทัล

ภาพประกอบ 10 ตัวอย่างการวางสื่อและเนื้อหาด้านการเห็นคุณค่าของการใช้เวลากับ โลกดิจิทัลอย่างสมดุลบนเว็บไซต์

ภาพประกอบ 11 ล าดับการวางสื่อและเนื้อหาด้านการเห็นความส าคัญของการจัดเก็บข้อมูล ส่วนตัวที่ปลอดภัย

ด้านการเห็นความส าคัญของการจัดเก็บข้อมูลส่วนตัวที่ปลอดภัย

ข้อมูลที่ถูกเก็บลงออนไลน์

บุคคลที่เข้าถึงข้อมูลส่วนตัวได้และ ความเสี่ยงที่ตามมา

วิธีจัดการข้อมูลส่วนตัว

วีดิทัศน์และเนื้อหาบรรยาย ข้อมูลส่วนตัว คือ?”

โปสเตอร์อินโฟกราฟิก ประเภทของข้อมูลส่วนตัว

โปสเตอร์อินโฟกราฟิก บุคคลที่เข้าถึงข้อมูลส่วนตัวได้

กิจกรรมเกม เน็ตรู้ โลกรู้

กิจกรรม ข้อมูลของฉันอยู่ที่ใคร

โปสเตอร์อินโฟกราฟิก วิธีจัดการข้อมูลส่วนตัว กิจกรรม ส่อง AR “ข้อมูลส่วนตัวเก็บอย่างไรดี ?”

กิจกรรมเกมข้อมูลของฉันใครอย่ามาแย่งไป

แบบวัดความฉลาดทางดิจิทัล ด้านการเห็นความส าคัญของการจัดเก็บข้อมูลส่วนตัวที่

ปลอดภัย