• Tidak ada hasil yang ditemukan

- กิจการตองอธิบายถึงความสัมพันธระหวางคาใชจายภาษีเงินไดหรือรายไดภาษีเงินได

กับกําไรทางบัญชีในลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือทั้ง 2 ลักษณะ ดังนี้

1. การกระทบยอดจํานวนเงินระหวางคาใชจายภาษีเงินไดหรือรายไดภาษีเงินไดกับ ผลคูณของกําไรทางบัญชีกับอัตราภาษีเงินไดที่ใชและเปดเผยเกณฑการคํานวณ อัตราภาษีที่ใช

19

2. การกระทบยอดระหวางอัตราภาษีที่แทจริงถัวเฉลี่ยกับอัตราภาษีที่ใชและเปดเผย เกณฑการคํานวณอัตราภาษีที่ใช รวมทั้ง ไดกําหนดใหกิจการตองอธิบายเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีที่ใชโดยเปรียบเทียบกับงวดกอน

- กิจการตองเปดเผยขอมูลตอไปนี้สําหรับผลแตกตางชั่วคราวแตละประเภท ขาดทุนทาง ภาษีที่ยังไมไดใชแตละประเภท และเครดิตภาษีที่ยังไมไดใชแตละประเภท

1. จํานวนสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

ที่กิจการรับรูในงบดุลสําหรับแตละงวดที่นําเสนอ

2. จํานวนรายไดภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและคาใชจายภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

ที่กิจการรับรูในงบกําไรขาดทุน หากจํานวนดังกลาวไมสามารถเห็นไดอยาง ชัดเจนจากการเปลี่ยนแปลงของจํานวนที่รับรูในงบดุล

- สําหรับการดําเนินงานที่ยกเลิก กิจการตองเปดเผยคาใชจายภาษีเงินไดที่เกี่ยวของกับ รายการตอไปนี้

1. รายการกําไรหรือขาดทุนจากการยกเลิกการดําเนินงานนั้น

2. กําไรหรือขาดทุนจากกิจกรรมตามปกติสําหรับงวดของการดําเนินงานที่ยกเลิก และขอมูลเปรียบเทียบสําหรับทุกงวดที่นําเสนอ

- กิจการตองเปดเผยจํานวนสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและหลักฐานที่ใช

สนับสนุนการรับรูสินทรัพยนั้นเมื่อเปนไปตามเงื่อนไขทุกขอตอไปนี้

1. การใชประโยชนจากสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่รับรูไวขึ้นอยูกับจํานวน กําไรทางภาษีในอนาคตที่สูงกวากําไรจากการกลับรายการผลแตกตางชั่วคราวที่

ตองเสียภาษีที่มีอยูในขณะนั้น

2. กิจการประสบการขาดทุนในงวดปจจุบันหรืองวดกอนในเขตภาษีที่เกี่ยวของกับ สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่รับรูไว

20

หลักการพิจารณาผลแตกตางระหวางราคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สินของรายการ ในงบดุลกับฐานภาษีของสินทรัพยและหนี้สินซึ่งกอใหเกิดสินทรัพย/หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัด บัญชี ตามที่วรศักดิ์ ทุมมานนท (2548) ไดกลาวไวและอางอิงจากมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได สามารถสรุปไดดังนี้

1. รายการหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี จะเกิดขึ้นเมื่อราคาตามบัญชีของ สินทรัพยสูงกวาฐานภาษี หรือ ราคาตามบัญชีของหนี้สินต่ํากวาฐานภาษี

เมื่อราคาตามบัญชีของสินทรัพยสูงกวาฐานภาษี หรือ ราคาตามบัญชีของหนี้สินต่ํากวา ฐานภาษี จะทําใหเกิดผลแตกตางชั่วคราวที่ไวรวมคํานวณภาษีเงินไดในอนาคต ซึ่งใหนําไปคูณกับ อัตราภาษีเงินได ผลลัพธที่ไดเปนผลแตกตางชั่วคราวที่ตองเสียภาษีซึ่งกิจการตองนํามารวม คํานวณกําไร/ขาดทุนทางภาษีในงวดอนาคตเมื่อกิจการไดรับประโยชนจากสินทรัพยหรือจายชําระ หนี้ตามราคาตามบัญชี โดยรายการดังกลาวตองแสดงเปนรายการหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัด บัญชีในงบดุล

ตัวอยาง รายการที่มีราคาตามบัญชีของสินทรัพยสูงกวาฐานภาษี เชน หลักทรัพยเพื่อคา มีราคาตลาด ณ วันสิ้นงวด สูงกวาราคา ณ วันที่ซื้อ มีผลทําให ราคาตามบัญชีของบัญชีหลักทรัพย

เพื่อคา สูงกวา ฐานภาษี เนื่องจากกําไรที่เกิดขึ้นการการเปลี่ยนแปลงของราคาหลักทรัพยดังกลาว ทางกรมสรรพากรยังไมใหถือเปนรายไดทางฐานภาษี จากเหตุการณดังกลาว จํานวนผลประโยชน

เชิงเศรษฐกิจที่ตองเสียภาษีจะสูงกวาจํานวนที่สามารถนํามาหักเพื่อคํานวณภาษีเงินได ผลตางนี้

ถือเปนผลแตกตางชั่วคราวที่ตองเสียภาษีและภาระผูกพันที่กิจการจะตองจายภาษีเงินไดในงวด อนาคต จึงเขาตามคํานิยามของหนี้สินตามแมบทการบัญชี จึงใหแสดงรายการดังกลาวเปน หนี้สิน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

สําหรับตัวอยางรายการที่มีราคาตามบัญชีของหนี้สินต่ํากวาฐานภาษี หาไดยาก(ไมเกิด เหตุการณดังกลาว) ในประเทศไทย

2. รายการสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี จะเกิดขึ้นเมื่อราคาตามบัญชีของ สินทรัพยต่ํากวาฐานภาษี หรือ ราคาตามบัญชีของหนี้สินสูงวาฐานภาษี

เมื่อราคาตามบัญชีของสินทรัพยต่ํากวาฐานภาษี หรือ ราคาตามบัญชีของหนี้สินสูงวา ฐานภาษี จะทําใหเกิดผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษีเงินไดในงวดอนาคต ซึ่งใหนําไปคูณกับ อัตราภาษีเงินได ผลลัพธที่ไดเปนผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษีซึ่งกิจการตองนํามารวมคํานวณ กําไร/ขาดทุนทางภาษีในงวดอนาคตเมื่อกิจการไดรับประโยชนจากสินทรัพยหรือจายชําระหนี้ตาม

21

ราคาตามบัญชี โดยรายการดังกลาวตองแสดงเปนรายการสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ใน งบดุล

ตัวอยาง รายการที่มีราคาตามบัญชีของสินทรัพยต่ํากวาฐานภาษี เชน รายการลูกหนี้ที่มี

การตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หรือรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณที่มีการดอยคา มีผลทําใหราคา ตามบัญชีของสินทรัพย ต่ํากวา ฐานภาษี เนื่องจากรายการหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และรายการ ดอยคาดังกลาว กรมสรรพากรยังไมใหถือเปนคาใชจายทางภาษี จากเหตุการณดังกลาว จํานวน ผลประโยชนเชิงเศรษฐกิจที่ตองเสียภาษีจะต่ํากวาจํานวนที่สามารถนํามาหักเพื่อคํานวณภาษีเงิน ได ผลตางนี้ถือผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษี นั่นคือกิจการจะไดรับคืนภาษีเงินไดในงวดอนาคต จึงเขาตามคํานิยามของสินทรัพยตามแมบทการบัญชี จึงใหแสดงรายการดังกลาวเปน สินทรัพย

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

ตัวอยาง รายการที่มีราคาตามบัญชีของหนี้สินสูงวาฐานภาษี เชน การรับประกันคุณภาพ หลังการขาย มีผลทําให ราคาตามบัญชีของหนี้สิน สูงกวา ฐานภาษี เนื่องจาก คาใชจายในการ รับประกันคุณภาพดังกลาว ทางกรมสรรพากรยังไมใหถือเปนคาใชจายทางภาษี นั่นคือ

กรมสรรพากรจะยังไมยอมรับรายการหนี้สินที่เกิดจากการรับประกันคุณภาพดังกลาวในงวดที่มี

การประมาณการไว แตจะยอมรับในงวดที่คาใชจายที่เกิดจากการรับประกันคุณภาพเกิดขึ้นจริง จากเหตุการณดังกลาว ผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดจากราคาตามบัญชีของหนี้สินสูงกวาฐานภาษี

ของหนี้สินนั้นจะทําใหกิจการมีสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่จะใชประโยชนไดเมื่อกิจการ สามารถนําหนี้สินสวนนั้นไปหักเพื่อคํานวณกําไรทางภาษีในงวดอนาคต

กลาวโดยสรุป หลังจากกิจการสามารถคํานวณหาผลแตกตางชั่วคราวของแตละรายการ ในงบดุลทั้งดานสินทรัพยและหนี้สิน กิจการตองพิจารณาวาผลแตกตางชั่วคราวนั้นเปนผล แตกตางที่ทําใหกิจการตองเสียภาษีในอนาคต ซึ่งตองบันทึกเปน “หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัด บัญชี” หรือผลแตกตางชั่วคราวนั้นเปนผลแตกตางที่กิจการนํามาใชหักภาษีในอนาคต ซึ่งอาจตอง บันทึกบัญชีเปน “สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี” การบันทึกบัญชีสินทรัพยหรือหนี้สินภาษี

เงินไดรอการตัดบัญชี ตองอาศัยการพิจารณาตามที่กลาวมาขางตน

อยางไรก็ตาม ในการบันทึกภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีนั้น ถากิจการวิเคราะหตามหลักการ ขางตนแลวพบวากิจการมีหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี กิจการสามารถบันทึกรายการหนี้สิน ภาษีเงินไดรอตัดบัญชีนี้ไดทันที แตถาวิเคราะหแลวพบวาเปนรายการสินทรัพยภาษีเงินไดรอการ

22

ตัดบัญชี มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได ระบุวากิจการจะ สามารถบันทึกสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีก็ตอเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนที่กิจการ จะมีกําไรทางภาษีเพียงพอที่จะนําผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษีนั้นมาใชประโยชน ( ณัฏฐพร เหลาธรรมทัศน, 2545 : 11)

วรศักดิ์ ทุมมานนท (2548) กลาวถึงวิธีการบันทึกบัญชีซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้

1. เมื่อสิ้นงวด กิจการตองบันทึกคาใชจายภาษีเงินไดตามปกติ

เดบิท ภาษีเงินได xx

เครดิท ภาษีเงินไดคางจาย xx

2. ปรับปรุงรายการ โดยการเทียบราคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สินกับฐานภาษี

โดยทําการสรุปวาเกิดรายการสินทรัพย หรือ หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี แบงเปน 2.1 หากตองตั้งรายการสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น ใหบันทึกรายการดังนี้

เดบิท สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี xx เครดิท รายไดภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี xx ( การเพิ่มคาของสินทรัพย คือการเกิดรายได ตามแมบทการบัญชี )

2.2หากตองตั้งรายการสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีลดลง ใหบันทึกรายการดังนี้

เดบิท คาใชจายภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี xx

เครดิท สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี xx ( การลดคาของสินทรัพย คือ การเกิดคาใชจาย ตามแมบทการบัญชี )

2.3หากตองตั้งรายการหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น ใหบันทึกรายการดังนี้

เดบิท คาใชจายภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี xx เครดิท หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี xx ( การเพิ่มขึ้นของหนี้สิน คือ การเกิดคาใชจาย ตามแมบทการบัญชี )

Dokumen terkait