• Tidak ada hasil yang ditemukan

ความเข้าใจและความคิดเห็นของผู้ทำบัญชีที่มีต่อมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "ความเข้าใจและความคิดเห็นของผู้ทำบัญชีที่มีต่อมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้"

Copied!
159
0
0

Teks penuh

(1)

SRIPATUM UNIVERSITY

!"#

$ %&'()$$* +%#,-&./ 01"23#24/ 015/ /" 56 !"# / 01 " /89 :*&

ACCOUNTANT=S UNDERSTANDING AND OPINION OF THAI ACCOUNTING STANDARD NO.56

C THE ACCOUNTING FOR TAX PAYABLE G

# # HIJ9K

L :*& /#*

MN9 2549

(2)

! "#$

%& ' .%%) ) *'# ))+ ! "#$,),

!-! ./ 00' # & ,#*,)! ! .'&)'

## 1 2 2 2 + ,'+0 +#) +,,)0/0+)1!-0'3"

+4 ))0*!*'''

# 5#$

! 6/

(3)

: !"

!#$%#& 56 #) %#% %*+, : - #% ##./0%+1

" : . 2#34

35 //1 : /.2. 2550 "

%#29%+#) !"!#$%#& 56 #)

%#% %*+, !:43#-1 /) 29%+:9##

!"!#$%#& 56 #) %#% %*+,%%;/) 29%+#

!"!#$%#& 56 #) %#% %*+,%!

-"4 /) 29%+# !"!#$%#& 56 #) %#

% %*+, %!# #;/) 29%+-/<1#"-"4 !"!#$%#& 56 #) %#% %*+,= %4"

! "3>#+ !%#/ 1"3#2, ?9 ,#%

-:3# /!#1 = =3#%#-##3 SPSS Windows Version 11.0

= --!$ "-:!# - 0.05

%%#29%+/" !-:-""3>/2 4!;!" 30 :9 40 35

%#29%+ "#3#!##) " # ,-%" 60,000 !") 3#-%#.1

%%" 9 359;,3 #!"#%#3>-"" = !#$

%#& 56 #) %#% %*+,& #!"!#$%#

& 56 #) %#% %*+, # Q %R -#%#--4!$

/" # ,!") =%-%#29%+!#$%#& 56 #) %#

% %*+, !%!"% !"!#$%#& 56 #) %#% %*+

, %#"!%!"% #; !#$%#& 56 #)

%#% %*+, !%!"% !"!#$%#& 56 #)

%#% %*+, %#### %# %#-!%!"% %%; #

%#29%+ 3#-%#.1 =%-%#29%+!#$%# !-:

-/<1%!#$%#& 56 #) %#% %*+, ",#%!) %#!#$%#& 56 #) %#% %*+, 3S! #%#29%+/ !"!#$%#&%" ,%#%,/ !#) #29%+:9%# - %#!#$%#& 56 #) %#

% %*+,%#3S!#!",3

- : !#$%#& 56 #) %#% %*+,

(4)

Research Title : Accountants Understanding and Opinion of Thai Accounting Standard No.56

The Accounting for Tax Payable # Name of Researchers : Miss Rong-ek Varnaprux

Name of Institution : Faculty of Accounting, Sripatum University Year of Publication : B.E. 2550

ABSTRACT

A Study of accountants understanding and opinion of Thai Accounting Standard No.56 The Accounting for Tax Payable # was conducted with the objective 1) to study the accountants understanding on Thai Accounting Standard No.56 The Accounting for Tax Payable # 2) to study the accountants opinion of Thai Accounting Standard No.56 The Accounting for Tax Payable # 3) to study the accountants opinion of Thai Accounting Standard No.56 The Accounting for Tax Payable # classified by the personal data 4) to study the accountants opinion of Thai Accounting Standard No.56 The Accounting for Tax Payable # classified by the understanding 5) to study a relationship of accountants personal data and their understanding on Thai Accounting Standard No.56 The Accounting for Tax Payable #.

The accountants who answer the questionnaire mostly are female, age from 30 to 40 year- old , having a bachelor degree or equivalent , earning more than 60,000 baht per month and having more than 9 years of working experience in a management level. A study found the level of

understanding of accountants on Thai Accounting Standard No.56 The Accounting for Tax Payable #. And they also agree with Thai Accounting Standard No.56 The Accounting for Tax Payable # in the high level. Furthermore a study also found that the difference in accountants personal data consisted of earning per month and a chance to study in Thai Accounting Standard No.56 effects the opinion of Thai Accounting Standard No.56 in the measurement part. Indeed the difference in accountants understanding effects the opinion of Thai Accounting Standard No.56 in the recognition and presentation part. Moreover accountants educational level ,experience and a chance to study TAS No.56 have a relationship on the understanding on Thai Accounting Standard No.56 The Accounting for Tax Payable #

To be sure whether Thai Accounting Standard No.56 The Accounting for Tax Payable # will be used in practice , it should be studied more on the changes and the impact on Thai

Accounting Standard No.56 .

Keyword : Thai Accounting Standard No.56 The Accounting for Tax Payable #

(5)

1 ...1

..1

!"#...8

!"#...8

!% !"#.9

!"#...9 !#'(...10

2 + ,- ,-#..13

0.(12% ,-# 3,45,!67.13

8 !"#,- ,-#...24

...31 3 ,#!:, !"#...33

0 !"#33

3 ;#;..33

1-1 !"#.34

.035

! .0...36

4 8 ! .0.39

.0; 80.3,...40 .0 ,-# !5,-80.3,>!!42 .0 ,-# '? 5% 3,@,- 56...44 .A"A%@,- 56 1- 3, ,-# 45,!67...47 7 !7C,-,;% 3,@,- 56 1-

3, ,-# 45,!67...49 8 7!%...51

(6)

5 4!#8 ...117

8 !"#..119

4!#8122

...128

+ ..130

4 8 ...133

#;...134

!#;80.!"#...139

(7)

1 !" #$

%""& ' ! ()*" ' ! +,

- .$'/00( !*-'/00...40 2 ( .$('5.. * .$...42 3 ( .$('5.. %" 7. .$

' !0'8 2548...43 4 ( .$('5..% " 7. .$

' !0'8 2548;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;43 5 ( #$ < =( 56 &(

( ?$.%" @ - A(

< !*&(B;...;;;;;;;;;;;;;;;;;..44 6 ( #$ < =( 56 &(

(?$.%" #$(?$.%"

0 < =( 56...45 7 ( #$ < =(56 &( (

?$.%" *(-- #$(

(?$.%";;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;.46 8 !-0- < =(56 &(

(?$.%" ;;;;...47 9 "!-0 < =( 56 &(

(?$.%" !"!( " " =( !

( <;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;.47 10 -0 < =( 56 &(

(?$.%" !"!;;;;;;;;...;;;;;..48 11 "."*E( < =( 56 &(

(?$.%";;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;.49

(8)

12 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" "., 0

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;..51 13 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%"" 0

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;.52 14 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " " 0

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;.53 15 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;..54 16 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 'F" 0

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;..55 17 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" 0;;;;;;;;;..56 18 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" "., 0

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;..57

(9)

19 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;..58 20 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " " 0

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;..59 21 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;.60 22 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 'F" 0

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;.61 23 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" 0;;;;;;;;;.62 24 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" "., 0 !" #$

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;63 25 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0 !" #$

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;64

(10)

26 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " " 0 !" #$

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;65 27 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0 !"

#$;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;66 28 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 'F" 0 !"

#$;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;67 29 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" 0 !" #$;;;;;68 30 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" "., 0 %""&

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;....69 31 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0 %""&

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;70 32 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " " 0 %""&

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;...71

(11)

33 ' *+&(" =(

."*E < =( 56 &(

(?$.%" " " 0 %""&

'G @".7 (LSD);;;;;;;;;;;..72 34 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%"" 0 %""&

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;73 35 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 'F" 0 %"

"& ;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;..74 36 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" 0 %""& ...75 37 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" "., 0' ! +,

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;.76 38 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0' ! +,

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;.77

(12)

39 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " " 0' ! +,

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;.78 40 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0

' ! +,;;;;;;;;;;;;;;;;;;;..79 41 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 'F" 0

' ! +,;;;;;;;;;;;;;;;;;;;..80 42 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" 0' ! +,

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;..81 43 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" "., 0*

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;82 44 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0*

...83

(13)

45 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " " 0*

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;84 46 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0

*;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;...85 47 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 'F" 0

*...86 48 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" 0*;;;;;;.87 49 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" "., 0 A

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;.88 50 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0 A

...89 51 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " " 0 A

...90

(14)

52 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0 A

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;.91 53 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 'F" 0 A

...92 54 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%"0 A...93 55 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" "., 0 #$

<;;;;;;;;;;;;;...;;;;;;;;..94 56 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0 #$

<...95 57 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " " 0 #$

<...96 58 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0

#$ <...97

(15)

59 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 'F" 0

#$ <;...;;;;;;;;;;;;;;;;;...98 60 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" 0 #$ <

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;..99 61 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" "., 0-0- < =( 56 &( (?$.%"

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;.100 62 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0-0- < =( 56 &( (?$.%"

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;.102 63 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " " 0-0- < =( 56 &( (?$.%"

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;..103

(16)

64 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 0-0 - < =( 56 &( (?$.%"

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;..104 65 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" " 'F" 0-0 - < =( 56 &( (?$.%"

...105 66 " . !*,' ' &('

=(."*E < =( 56 &(

(?$.%" 0-0- <

=( 56 &( (?$.%" ...106 67 "0(-0!%-0 <

=( 56 &( (?$.%" 0

...107 68 "0(-0!%-0 <

=( 56 &( (?$.%" 0

...108 69 "0(-0!%-0 <

=( 56 &( (?$.%" 0 !"

#$...109 70 "0(-0!%-0 <

=( 56 &( (?$.%" 0 %""&

...110

(17)

71 "0(-0!%-0 <

=( 56 &( (?$.%" 0' ! +,

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;..111 72 "0(-0!%-0 <

=( 56 &( (?$.%" 0*

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;.112 73 "0(-0!%-0 <

=( 56 &( (?$.%" 0 A

;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;;113 74 "0(-0!%-0 <

=( 56 &( (?$.%" 0 #$

< =( 56 ...114

' "

- .<( 1 ( ."*E( < =( 56 &(

(?$.%"...115 - .<( 2 -0- < =( 56 &(

(?$.%" (."*E( <

=( 56 &( (?$.%"...;;;;..;115 - .<( 3 7,-0- < =( 56 &( (?$.%"...116

(18)

บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ตั้งแตวิกฤติเศรษฐกิจในประเทศไทยชวงป 2539 เปนตนมา กิจการหลายแหงไดประสบ ปญหาสถานะทางการเงินเปนอยางสูง มีผลทําใหในสวนของวิชาชีพบัญชีไดรับผลกระทบเกี่ยวกับ ความโปรงใสและความเชื่อถือไดของงบการเงินทั้งตอกิจการที่นําเสนองบการเงินและผูเกี่ยวของ ทั้งภายในและภายนอก

จากเหตุการณดังกลาวทําใหในชวงป 2539 จนถึงปจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชี (เดิมคือ สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย ซึ่งเปนสถาบันวิชาชีพบัญชีอิสระที่มี

วัตถุประสงคเพื่อพัฒนาวิชาชีพบัญชีและสอบบัญชี ใหมีมาตรฐานเทียบไดกับมาตรฐานสากล รวมทั้งเปนกิจการที่ไมแสวงหากําไร)(สมาคมนักบัญชี และผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย, 2544 : 1) ไดทําการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีออกมาใหม ๆ หลายฉบับ เพื่อใหมาตรฐานการ บัญชีของประเทศไทยมีมาตรฐานเทียบเคียงนานาประเทศ และทําใหงบการเงินที่นําเสนอมีความ โปรงใสและเชื่อถือได

ประวัติการกําหนดมาตรฐานการบัญชีของประเทศไทย เดิมใชการอางอิงมาจากมาตรฐาน การบัญชีของสหรัฐอเมริกา (เดิมเปน APB ปจจุบันเปน SFAS) จนเมื่อมีการกําหนดมาตรฐานการ บัญชีระหวางประเทศ (IAS) ประเทศไทยจึงไดใชมาตรฐานการบัญชีจากทั้งสองแหงมาเปนเกณฑ

ในการยก(ราง)มาตรฐานการบัญชีของประเทศไทย (สมาคมนักบัญชี และผูสอบบัญชีรับอนุญาต แหงประเทศไทย, 2544 : 7)

โดยปจจุบันทางเลือกในการกําหนดมาตรฐานการบัญชีของนานาประเทศจัดแบงเปน 3 กลุมใหญ ๆ ดังนี้ (สมาคมนักบัญชี และผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย, 2544 : 7)

กลุมที่ 1 ถือเอามาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศเปนมาตรฐานการบัญชีของ ประเทศตน

กลุมที่ 2 กําหนดมาตรฐานการบัญชีของประเทศตนขึ้นใชเอง

(19)

2

กลุมที่ 3 ใชมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศเปนเกณฑในการกําหนดมาตรฐานการ บัญชีของประเทศตน โดยมาตรฐานที่กําหนดขึ้นจะมีความสอดคลองกับมาตรฐานการบัญชี

ระหวางประเทศ

สําหรับแนวทางการกําหนดมาตรฐานการบัญชีของประเทศไทยนั้นจะเปนตามกลุมที่ 3 โดยจะอางอิงมาจากมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ และนํามาปรับเปลี่ยนบางสวนใหเขากับ สภาพแวดลอม และการดําเนินธุรกิจภายในประเทศไทย จากการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีของ ประเทศไทยอยางตอเนื่อง มีผลทําใหรายงานทางการเงินของแตละกิจการสะทอนผลการ

ดําเนินงานที่แทจริงและสามารถใชเปรียบเทียบกันไดดีขึ้น รวมทั้งประเทศไทยยังสามารถนํา มาตรฐานการบัญชีของแหลงอื่นมาพิจารณาเพื่อกําหนดเปนมาตรฐานการบัญชีของประเทศไทย ได ถาหากขอกําหนดบางอยางมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศไมไดกําหนดไว(สมาคมนัก บัญชี และผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย, 2544 : 8)

สภาวิชาชีพบัญชีไดยกเลิกมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 และใหใชแมบทการบัญชีแทน ตั้งแตวันที่ 25 กุมภาพันธ 2542 โดยแมบทการบัญชีไดทําการกําหนดเกณฑสําหรับการจัดทําและ นําเสนองบการเงินในเรื่องเกี่ยวกับ ผูใชงบการเงิน วัตถุประสงคของงบการเงิน ขอสมมุติ ลักษณะ เชิงคุณภาพของงบการเงิน องคประกอบของงบการเงิน คํานิยามขององคประกอบนั้น การรับรู

องคประกอบของงบการเงิน การวัดมูลคาของรายการ และแนวคิดเกี่ยวกับทุนและการรักษาระดับ ทุน และการวัดผลกําไร (สมาคมนักบัญชี และผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย, 2544 : 17-19)

แมบทการบัญชีเปนกรอบแนวคิดพื้นฐานในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน ซึ่ง คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีมีความประสงคที่จะใชเปนเกณฑหรือแนวทางในการปรับปรุง มาตรฐานการบัญชีที่ใชกันอยูในนปจจุบัน เพื่อพัฒนาใหมาตรฐานการบัญชีในอนาคตมีความ สอดคลองกันรวมทั้งสอดคลองกับมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ รวมทั้งผูทําบัญชีและผูใช

งบการเงินจะไดเขาใจถึงเนื้อหาของมาตรฐานการบัญชีไดดียิ่งขึ้น และสามารถนําไปใชในการ ปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับเรื่องที่มาตรฐานการบัญชียังไมไดกําหนดไว (สมาคมนักบัญชี และ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย, 2544 : 17)

(20)

3

ตามแมบทการบัญชีไดระบุวา แมบทการบัญชีกําหนดไวเพื่อวางแนวคิดที่เปนพื้นฐานที่

กิจการนํามาใชในการจัดทําและนําเสนองบการเงินที่จัดทําขึ้นเพื่อวัตถุประสงค :-

- เปนแนวทางสําหรับคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีในการพัฒนามาตรฐานการ บัญชีในอนาคตและในการทบทวนมาตรฐานการบัญชีที่มีในปจจุบัน

- เปนแนวทางสําหรับคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีในการปรับขอกําหนด

มาตรฐานและการปฏิบัติทางบัญชีที่เกี่ยวของกับการนําเสนองบการเงินใหสอดคลอง กันโดยถือเปนหลักเกณฑในการลดจํานวนทางเลือกของวิธีการบันทึกบัญชีที่เคย อนุญาตใหใช

- เปนแนวทางสําหรับผูจัดทํางบการเงินในการนํามาตรฐานการบัญชีมาปฏิบัติ รวมทั้ง เปนแนวทางในการปฏิบัติสําหรับเรื่องที่ยังไมมีมาตรฐานการบัญชีรองรับ

- เปนแนวทางสําหรับผูสอบบัญชีในการแสดงความเห็นตองบการเงินวาไดจัดทําขึ้น ตามมาตรฐานการบัญชีหรือไม

- ชวยใหผูใชงบการเงินสามารถเขาใจความหมายของขอมูลที่แสดงในงบการเงินซึ่ง จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชี

- ใหผูสนใจไดทราบขอมูลเกี่ยวกับแนวทางในการกําหนดมาตรฐานการบัญชีของ คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชี

(สมาคมนักบัญชี และผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย, 2544 : 20)

นั่นคือ “แมบทการบัญชี ถือเปนพื้นฐานสําคัญในการสื่อสารระหวาง บุคคล 3 ฝาย อันไดแก คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชี ผูจัดทํางบการเงิน และผูใชงบการเงิน” (วรศักดิ์

ทุมมานนท, 2548 : 9)

แมบทการบัญชียังไดระบุไววางบการเงินตองจัดทําขึ้นภายใตขอสมมติฐาน 2 ประการคือ เกณฑคงคาง (Accrual Basis) และการดําเนินงานตอเนื่อง (Going Concern) ซึ่งสําหรับการใช

เกณฑคงคางในการบันทึกบัญชีเพื่อจัดทํางบการเงินนั้น รายการตาง ๆ ทางบัญชีตองจะตองรับรู

รายการเมื่อเกิดขึ้นไมใชรับรูรายการเมื่อมีการรับหรือจายเงินสด นั่นหมายความวารายการตาง ๆ ทางบัญชีจะตองแสดงในงบการเงินใหตรงตามงวดที่เกิดรายการนั้นขึ้นจริง อยางไรก็ตามรายการ ทางบัญชีบางรายการตามเกณฑคงคางอาจจะตองมีการปรับปรุงรายการ ณ วันงวดบัญชี เชน รายไดคางรับและรับลวงหนา คาใชจายคางจายและจายลวงหนา เพื่อแสดงรายการใหถูกตองตรง ตามงวดบัญชีที่เกี่ยวของ แมบทการบัญชีไดมีการกําหนดคํานิยามบัญชีหมวดตาง ๆ เพื่อเปน แนวทางในการรับรูรายการ โดย วรศักดิ์ ทุมมานนท (2548 : 12 – 21) ไดสรุปไวดังนี้

(21)

4

“ สินทรัพย ” หมายถึง ทรัพยากรที่เขาเงื่อนไขทั้งสามขอดังนี้ คือ

1. ทรัพยากรซึ่งกิจการคาดวาจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคต 2. ทรัพยากรที่อยูในความควบคุมของกิจการ

3. ทรัพยากรซึ่งเปนผลของเหตุการณในอดีต

“ หนี้สิน ” หมายถึง ภาระผูกพันที่เขาเงื่อนไขทั้งสามขอดังนี้ คือ 1. ภาระผูกพันในปจจุบันของกิจการ

2. ภาระผูกพันซึ่งเปนผลของเหตุการณในอดีต

3. การชําระภาระผูกพันนั้นคาดวาจะสงผลใหกิจการไมอาจหลีกเลี่ยงการสูญเสีย ทรัพยากรที่มีประโยชนเชิงเศรษฐกิจไปใหคูสัญญาได

“ สวนของเจาของ ” หมายถึง สวนไดเสียคงเหลือในสินทรัพยของกิจการหลังจากหัก หนี้สิน

“ รายได ” หมายถึง การเพิ่มขึ้นของประโยชนเชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชีรูป กระแสเขา การเพิ่มคาของสินทรัพยในรอบระยะเวลาบัญชี หรือการลดลงของหนี้สินใน รอบระยะเวลาบัญชี

“ คาใชจาย ” หมายถึง การลดลงของประโยชนเชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชีในรูป กระแสออก การลดคาของสินทรัพยในรอบระยะเวลาบัญชี หรือการเพิ่มขึ้นของหนี้สินใน รอบระยะเวลาบัญชี

จากที่กลาวมาขางตนกําไรขาดทุนทางบัญชี มาจากการรับรูรายการตาง ๆ ตามเกณฑ

“คงคาง” ในขณะที่การคํานวณกําไรขาดทุนทางภาษี กิจการตองใชเกณฑ “ สิทธิ ” โดยตาม ประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ไดอธิบายการคํานวณรายไดและคาใชจายโดยใชเกณฑสิทธิ์ไววา กิจการตองนํารายไดที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชีใด แมวาจะยังไมไดรับชําระในรอบระยะเวลา นั้น มารวมคํานวณเปนรายไดในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น และใหนํารายจายทั้งสิ้นที่เกี่ยวกับรายได

นั้น แมจะยังมิไดจายในรอบระยะเวลาบัญชีนั้นมารวมคํานวณเปนรายจายของรอบระยะเวลา บัญชีนั้น อยางไรก็ตาม ในประมวลรัษฎากรไดกําหนดหลักเกณฑเพื่อใชคํานวณกําไรและขาดทุน

(22)

5

สุทธิเพิ่มเติมซึ่งอาจทําใหกําไรขาดทุนทางภาษีแตกตางกับกําไรขาดทุนทางบัญชี เชน คาสึกหรอ และคาเสื่อมราคาของทรัพยสินตามมาตรา 65 ทวิ ใหหักไดตามขอกําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 145 ซึ่งอาจแตกตางจากนโยบายการคิดคาเสื่อมราคาสินทรัพยของกิจการเนื่องจากปกติ

กิจการจะคิดคาเสื่อมราคาตามลักษณะการใชงานสินทรัพยจริง หรือการระบุรายการที่ไมใหถือเปน รายจายในการคํานวณกําไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี เชน รายจายซึ่งกําหนดขึ้นเองโดยไมมีการจาย จริงหรือรายจายซึ่งควรจะไดจายในรอบระยะเวลาบัญชีอื่น หรือการกําหนดลักษณะและจํานวน เงินคารับรองและคาบริการใหนํามาหักเปนรายจายไดเทากับจํานวนที่ตองจาย แตรวมกันตองไม

เกินรอยละ 0.3 ของจํานวนเงินยอดรายไดหรือยอดขายที่ตองนํามารวมคํานวณกําไรสุทธิกอนหัก รายจายใดในรอบระยะเวลาบัญชีหรือของจํานวนเงินทุนที่ไดรับชําระแลวถึงวันสุดทายของรอบ ระยะเวลาบัญชี แลวแตจํานวนใดจะมากกวา ทั้งนี้ รายจายที่จะนํามาหักไดจะตองมีจํานวนสูงสุด ไมเกินสิบลานบาท ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 143 เปนตน (ณัฏฐพร เหลาธรรมทัศน, 2545 : 1)

จากตัวอยางขางตนจึงแสดงใหเห็นวากําไรขาดทุนทางบัญชี มีโอกาสอยางมากที่จะไม

เทากับกําไรขาดทุนทางภาษี ซึ่งเปนหลักการเบื้องตนในการออกมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได

วรศักดิ์ ทุมมานนท (2548) ไดสรุปไววา วิธีการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดที่มีการใชปฏิบัติ

ในประเทศไทยสามารถแบงไดเปน

• วิธีภาษีเงินไดคางจาย (Tax Payable Method) ซึ่งเปนวิธีการบันทึกคาใชจาย ภาษีเงินไดตามจํานวนที่จายและที่ไดตั้งคางจายไวสําหรับงวด

• วิธีภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (Deferred Tax Method) ซึ่งสามารถแบงการ พิจารณาได ทั้งจากงบกําไรขาดทุน และงบดุล

- วิธีภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี โดยพิจารณาจากรายการในงบกําไร ขาดทุน ( Income Statement Approach) ตาม IAS No.12 (Original) - วิธีภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี โดยพิจารณาจากรายการในงบดุล ( Liability Method – Balance Sheet Approach) ตาม IAS No.12 (Revised 1996) หรือมาตรฐานการบัญชีไทยฉบับที่ 56

โดยการใชวิธีการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดตาม“วิธีภาษีเงินไดคางจาย” (Tax Payable Method) ยังมีขอขัดแยงในดานการแสดงรายการสินทรัพยและหนี้สินทุกรายการตามคํานิยาม สินทรัพยและหนี้สินที่ระบุไวในแมบทการบัญชี รวมทั้งไมไดแสดงรายการสินทรัพยและหนี้สินภาษี

เงินไดปปจจุบัน และสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เกี่ยวของไวอยางเหมาะสม

(23)

6

เชน รายการลูกหนี้ทางบัญชีมีการตั้งหนี้สงสัยจะสูญ แตทางกรมสรรพากรใหหักในงวดที่หนี้สูญ จริงเทานั้น จากรายการดังกลาวทําใหกิจการจะไดกําไรทางภาษีในอนาคต (คือภาษีในงวดที่หนี้

สูญจริงจะลดลง) ซึ่งถือวารายการนี้เขานิยามสินทรัพย (สินทรัพย หมายถึง ทรัพยากรที่อยูใน ความควบคุมของกิจการ ทรัพยากรดังกลาวเปนผลของเหตุการณในอดีต ซึ่งกิจการคาดวาจะไดรับ ประโยชนเชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรนั้นในอนาคต) ซึ่งมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 จึงใหทําการ ตั้งรายการดังกลาวเปน สินทรัพยภาษีรอตัดบัญชี

จากขอขัดแยงกับแมบทการบัญชีของวิธีภาษีเงินไดคางจายมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่องการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได ตาม IAS No.12 (Original) จึงไดมีแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับ วิธีการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดตามวิธีภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี โดยพิจารณาจากรายการในงบ กําไรขาดทุน ( Income Statement Approach) เพื่อแกไขขอขัดแยงดังกลาวในวิธีภาษีเงินไดคาง จาย แตอยางไรก็ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่องการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได ตาม IAS No.12 (Original) ยังมีขอแยงบางประการในการคํานวณรายไดและคาใชจาย เนื่องจากรายไดและ คาใชจายบางรายการนั้น มาตรฐานการบัญชีไทยใหรับรูผานสวนของผูถือหุนไมไดใหรับรูเขางบ กําไรขาดทุน ทําใหรายไดและคาใชจายในงบกําไรขาดทุนนั้นถือวายังไมครบถวน เชน การตีราคา สินทรัพยใหมตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32 เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ บัญชีสวนเกินจาก การตีราคาใหมที่เกิดขึ้นจะแสดงในสวนของผูถือหุน แตในปที่มีการขายสินทรัพยที่ตีราคาเพิ่มไวผู

ถือหุนจะมีภาระผูกพันในการที่จะตองเสียภาษี 30 % ของสวนเกินจากการตีราคาดังกลาว ดังนั้น รายการดังกลาวจึงเขาตามนิยามหนี้สิน ( หนี้สิน หมายถึง ภาระผูกพันในปจจุบันของกิจการ ภาระ ผูกพันดังกลาวเปนผลของเหตุการณในอดีต ซึ่งการชําระภาระผูกพันนั้นคาดวาจะสงผลใหเกิดการ สูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชนเชิงเศรษฐกิจ ) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 ตาม IAS No.12 (Revised 1996) จึงกําหนดวิธีภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี โดยพิจารณาจากรายการในงบดุล เพื่อ บันทึกรายการดังกลาวขางตนเปน หนี้สินภาษีรอตัดบัญชี

กลาวโดยสรุปการใชวิธีภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี โดยพิจารณาจากรายการในงบกําไร ขาดทุน ( Income Statement Approach) นั้นจะมีผลทําใหกําไรทางบัญชีกอนหักภาษี ไมตรงกับ กําไรทางภาษี เนื่องจากมาตรฐานการบัญชียอมใหกิจการรับรูรายการ กําไรขาดทุน บางอยางเขา สวนของผูถือหุนได โดยไมผานงบกําไรขาดทุน เชน การปรับมูลคาหลักทรัพยเผื่อขาย การตีราคา สินทรัพยใหม การแปลงคางบการเงินบริษัทยอย เปนตน ซึ่งรายการตาง ๆ เหลานี้ถือเปนรายการที่

มีความเปนไปไดคอนขางแน ที่กิจการจะไดรับประโยชนหรือจะสูญเสียทรัพยากรในอนาคตที่

เกี่ยวของกับภาษีเงินได ดังนั้นเพื่อใหสะทอนคํานิยามของ สินทรัพย หรือ หนี้สิน อยางครบถวน

(24)

7

ตามที่กําหนดไวในแมบทการบัญชี กิจการจะตองนํารายการดังกลาวรวมแสดงเปนสินทรัพยภาษี

รอตัดบัญชีและหนี้สินภาษีรอตัดบัญชีของกิจการดวย

สําหรับมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีภาษีเงินได ตาม IAS No.12 (Revised 1996) กําหนดวิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดโดยใหกิจการตองรับรูสินทรัพย

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีในงบดุลเมื่อมีความเปนไปได

คอนขางแนที่กิจกาจจะไดรับประโยชนหรือจะสูญเสียทรัพยากรในอนาคตที่เกี่ยวของกับภาษีเงิน ได โดยใหใชวิธีภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ซึ่งพิจารณาจากรายการในงบดุล ( Liability Method – Balance Sheet Approach) หรือที่เรียกวา “ วิธีบันทึกหนี้สินตามงบดุล ” วิธีบันทึกหนี้สินตามงบ ดุลนี้ทําใหผลแตกตางชั่วคราวเกิดขึ้นหากฐานภาษีของสินทรัพยหรือหนี้สินมีจํานวนแตกตางไป จากราคาตามบัญชีของสินทรัยพหรือหนี้สินนั้น และผลแตกตางชั่วคราวนี้อาจทําใหเกิดสินทรัพย

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีหรือหนิ้สนภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ซึ่งกิจการตองรับรูตามขอกําหนดที่

ระบุไวในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่องการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได

กลาวไดวามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่องการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได คํานึงความ แตกตางกันระหวางหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป ( ตามแมบทการบัญชีและมาตรฐานการบัญชี

ฉบับตาง ๆ ) กับหลักภาษี โดยความแตกตางกันดังกลาวทําใหเกิดรายการที่มีความเปนไปได

คอนขางแน ที่กิจการจะไดรับประโยชนหรือจะสูญเสียทรัพยากรในอนาคตที่เกี่ยวของกับภาษีเงิน ได ซึ่งกิจการจึงตองบันทึกเปนภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีทั้งทางดานสินทรัพยและหนี้สิน

จากความแตกตางระหวางกําไรขาดทุนทางบัญชี และกําไรขาดทุนภาษี และการรับรู

รายการสินทรัพยและหนี้สินในงบดุลไมครบถวนนั้น สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาต แหงประเทศไทย ไดมีการออกมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่องการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได โดย จะใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2550 เปนตนไป แตกิจการสามารถเลือกปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กอนวันถือปฏิบัติได และ หากกิจการเลือกปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กอนวันถือปฏิบัติ กิจการตองปฏิบัติตาม ขอกําหนดทุกขอที่ระบุไวตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้โดยไมมีการยกเวน (สมาคมนักบัญชี และ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย, 2544 : 210)

จากการที่จะมีการบังคับใชมาตรฐานฉบับที่ 56 ดังกลาวขางตนในป 2550 ผูวิจัยจึงสนใจ วาในทางปฏิบัตินั้น ผูทําบัญชีมีความเขาใจและความคิดเห็น รวมทั้งใหความสําคัญกับรายการ บัญชี ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่องการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได มากนอยเพียงใด เนื่องจากวิธีการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดที่กิจการสวนใหญใชกันอยูในปจจุบันมักจะใชวิธีภาษีเงิน

(25)

8

ไดคางจาย (Tax Payable Method) ซึ่งเปนวิธีที่สะดวกและงายในการปฏิบัติ แตจะมีผลทําให

คาใชจายภาษีเงินไดในงบกําไรขาดทุนซึ่งเทากับจํานวนเงินที่ไดจายไปจริงนั้นไมสัมพันธกับกําไร สุทธิทางบัญชี และไมมีการรับรูรายการสินทรัพยหรือหนี้สินภาษีรอตัดบัญชี แมวากิจการจะไดรับ ประโยชนหรือสูญเสียทรัพยากรในอนาคตที่เกี่ยวของกับภาษีเงินไดก็ตาม รวมทั้งวิธีนี้ไมเปนที่

ยอมรับในการบัญชีของตางประเทศ อยางไรก็ตามผูทําบัญชีในประเทศไทยอาจจะยังไมคุนเคย หรือไมเขาใจถึงวิธีการบัญชีวิธีภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี โดยพิจารณาจากรายการในงบดุล ( Liability Method – Balance Sheet Approach) ซึ่งมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 ไดกําหนดไว

โดยความไมเขาใจของผูทําบัญชีจะสงผลกระทบตอการแสดงรายการในงบการเงินในการแสดง ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานที่ไมถูกตองและความความครบถวนตามที่ควรจะเปน

วัตถุประสงคในการวิจัย

1. เพื่อศึกษาถึงระดับความเขาใจของผูทําบัญชีที่มีตอมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได

2. เพื่อศึกษาถึงระดับความคิดเห็นของผูทําบัญชีที่มีตอมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได

3. เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของผูทําบัญชีที่มีตอมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได จําแนกตามขอมูลสวนบุคคล

4. เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของผูทําบัญชีที่มีตอมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได จําแนกตามระดับความเขาใจ

5. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางขอมูลสวนบุคคล และความเขาใจของผูทําบัญชีที่มีตอ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได

คําถามการวิจัย

1. ผูทําบัญชีมีความเขาใจในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษี

เงินไดมากนอยเพียงใด

2. ผูทําบัญชีมีความคิดเห็นตอมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษี

เงินไดอยางไร

3. ความสัมพันธระหวางขอมูลสวนบุคคลและความคิดเห็นของผูทําบัญชีที่มีตอมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดเปนอยางไร

(26)

9

4. ความสัมพันธระหวางความเขาใจและความคิดเห็นของผูทําบัญชีที่มีตอมาตรฐานการ บัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดเปนอยางไร

5. ความสัมพันธระหวางขอมูลสวนบุคคล และความเขาใจของผูทําบัญชีที่มีตอมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดเปนอยางไร

สมมุติฐานการวิจัย

1. ผูทําบัญชีมีความเขาใจในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษี

เงินได

2. ความคิดเห็นของผูทําบัญชีที่มีตอการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดอยูในระดับปานกลาง

3. มีความสัมพันธระหวางขอมูลสวนบุคคลและความคิดเห็นของผูทําบัญชีที่มีตอ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดอยางมีนัยสําคัญที่ 0.05

4. มีความสัมพันธระหวางความเขาใจและความคิดเห็นของผูทําบัญชีที่มีตอมาตรฐานการ บัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดอยางมีนัยสําคัญที่ 0.05

5. มีความสัมพันธระหวางขอมูลสวนบุคคลและความเขาใจของผูทําบัญชีที่มีตอมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดอยางมีนัยสําคัญที่ 0.05

ขอบเขตของการวิจัย

งานวิจัยเรื่อง “ความเขาใจและความคิดเห็นของผูทําบัญชีที่มีตอมาตรฐานการ บัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได” เปนการศึกษาความเขาใจและความ คิดเห็นของผูทําบัญชีบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยที่มีตอมาตรฐานการ บัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได ในดานการใหความสําคัญตอบัญชีดังกลาวเพื่อ แสดงในรายงานทางการเงินใหมีความนาเชื่อถือ และสามารถเปรียบเทียบกันได และจะนําผลที่

ไดมาเปนขอมูลในการสงเสริมการใหความรูความเขาใจแกผูทําบัญชีเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี

ฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได เพิ่มมากขึ้น รวมทั้งนําความคิดเห็นที่ไดรับเปน แนวทางในการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดตอไป โดย สงแบบสอบถามไปยังผูทําบัญชีบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในระหวาง วันที่ 13 ตุลาคม – 30 พฤศจิกายน 2549

(27)

10

นิยามศัพทเฉพาะ

ความเขาใจของ หมายถึง ความรูความเขาใจของผูทําบัญชีเกี่ยวกับ

ผูทําบัญชี มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับ ภาษีเงินได ในดานตาง ๆ ดังนี้

1. คําศัพทที่เกี่ยวของ

2. การรับรูรายการภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

3. การวัดมูลคา 4. การนําเสนอขอมูล 5. การเปดเผยขอมูล

ความคิดเห็นของ หมายถึง ความคิดเห็นของผูทําบัญชีเกี่ยวกับมาตรฐาน

ผูทําบัญชี การบัญชีฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได

ในดานตาง ๆ ดังนี้

1. คําศัพทที่เกี่ยวของ

2. การรับรูรายการภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

3. การวัดมูลคา 4. การนําเสนอขอมูล 5. การเปดเผยขอมูล

ขอมูลสวนบุคคล หมายถึง ขอมูลสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม แบงเปนขอมูล เชน ระดับการศึกษา ประสบการณทํางาน ขอมูล เกี่ยวกับบริษัทที่ทํางานอยู การศึกษามาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 56

กําไรทางบัญชี หมายถึง กําไรหรือขาดทุนสําหรับงวด ซึ่งเปนจํานวนกอนหัก คาใชจายภาษีเงินไดและกอนบวกรายไดภาษีเงินได

คาใชจายภาษีเงินไดหรือ หมายถึง ผลรวมของจํานวนที่เกิดจากภาษีเงินไดตามแบบแสดง รายไดภาษีเงินได รายการกับการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของภาษีเงินไดรอการ ตัดบัญชี ซึ่งผลรวมดังกลาวใชในการคํานวณกําไรหรือ ขาดทุนสุทธิสําหรับงวด

(28)

11

ภาษีเงินไดตามแบบแสดง หมายถึง คาใชจายภาษีเงินไดตามแบบแสดงรายการหรือรายได

รายการ ภาษีเงินไดตามแบบแสดงรายการสําหรับงวดใดงวด

หนึ่ง

ภาษีเงินไดรอการ หมายถึง หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีหรือสินทรัพยภาษีเงิน

ตัดบัญชี ไดรอการตัดบัญชี

หนี้สินภาษีเงินไดรอการ หมายถึง จํานวนภาษีเงินไดที่จะตองจายในงวดอนาคตซึ่งเกิด

ตัดบัญชี จากผล แตกตางชั่วคราวที่ตองเสียภาษี

สินทรัพยภาษีเงินไดรอ หมายถึง จํานวนภาษีเงินไดที่จะนํามาใชประโยชนไดในงวด การตัดบัญชี อนาคตซึ่งเกิดจากรายการขอใดขอหนึ่งตอไปนี้

ก) ผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษี

ข) ขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใชยกไป ค) เครดิตภาษีที่ยังไมไดใชยกไป

ผลแตกตางชั่วคราว หมายถึง ผลแตกตางระหวางราคาตามบัญชีกับฐานภาษีของ สินทรัพยหรือหนี้สิน ซึ่งแบงไดเปนสองประเภท ดังตอไปนี้

ก) ผลแตกตางชั่วคราวที่ตองเสียภาษี เปนผล แตกตางชั่วคราวที่ทําใหเกิดจํานวนที่ตอง เสียภาษีซึ่งกิจการตองนํามารวมคํานวณ กําไรทางภาษีหรือขาดทุนทางภาษีในงวด อนาคตเมื่อกิจการไดรับประโยชนจาก สินทรัพยหรือจายชําระหนี้ตามราคาตาม บัญชี

ข) ผลแตกตางชั่วคราวทที่ใชหักภาษี เปนผล แตกตางชั่วคราวที่ทําใหเกิดจํานวนที่

สามารถนํามาใชหักภาษีซึ่งกิจการตอง นํามารวมคํานวณกําไรทางภาษีหรือ ขาดทุนทางภาษีในงวดอนาคตเมื่อกิจการ ไดรับประโยชนจากสินทรัยพหรือจายชําระ หนี้สินตามราคาตามบัญชี

(29)

12

ฐานภาษีของสินทรัพย หมายถึง จํานวนสินทรัพยหรือหนี้สินที่กําหนดขึ้นเพื่อใชคํานวณ

ภาษีหรือหนี้สิน เงินได

กําไรทางภาษีหรือ หมายถึง กําไรหรือขาดทุนสําหรับงวดที่คํานวณขึ้นตามกฏหมาย ขาดทุนทางภาษี ภาษีอากร กําไรหรือขาดทุนดังกลาวใชเปนฐานในการ

คํานวณภาษีเงินไดที่กิจการจะตองจายหรือจะไดรับคืน คาใชจายภาษีเงินไดรอ หมายถึง จํานวนหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เพิ่มขึ้นในการ ตัดบัญชี ระหวางงวดหรือจํานวนสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัด

บัญชีที่ลดลงในระหวางงวด

รายไดภาษีเงินไดรอ หมายถึง จํานวนหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่ลดลงในการ ตัดบัญชี ระหวางงวดหรือจํานวนสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัด

บัญชีที่เพิ่มขึ้นในระหวางงวด

(สมาคมนักบัญชี และผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย, 2544 : 180 -182)

Referensi

Dokumen terkait

2535 เกี่ยวกับเรื่องขอจํากัดของบทบัญญัติที่ไมครอบคลุมถึงรถทุก ประเภท เชน รถจักรยาน รถจักรยานที่มีสวนพวง หรือรถจักรยานที่มี 3 ลอ เปนตน ซึ่งในปจจุบัน