• Tidak ada hasil yang ditemukan

ของตลาดนํ าท่าคา

2. ข้อมูลจากแบบสอบถาม

4.2 องค์ความรู้ในท้องถิน

4.2.3 การแลกเปลียนสินค้า

ผลิตภัณฑ์จักรสานของ ตําบลท่าคานั นได้รับรางวัลสินค้า...ของตําบล และเป็นทียอมรับ ในระดับนานาชาติ แต่เนืองจากลูกหลานของประธานกลุ่มจักรสานและชาวบ้านในชุมชนมีจํานวน น้อยทีสามารถผลิตชิ นงานได้ จึงทําให้ไม่สามารถสร้างมูลค่าเป็นสินค้าส่งออกได้ เนืองจาก ปริมาณในการสังสินค้าแต่ละคราวมีจํานวนมาก ทําให้ปัจจุบันกลุ่มจักรสานมีจํานวนสมาชิกอยู่

เพียง 3-5 คน ซึงเป็นสมาชิกในครอบครัว สินค้าทีผลิตขึ นมานั นจะผลิตตามสัง โดยไม่มีวางขายใน ตลาดนํ า

ส่วนการแปรรูปเป็นสินค้าอืนๆ ก็นิยมแปรรูปโดยอาศัยพืชหลักของพื นทีคือ มะพร้าวหรือ นํ าตาลมะพร้าวโดยการแปรรูปเป็นขนมถ้วย ขนมใส่ไส้ ข้าวต้มมัด ขนมกล้วย นอกจากนี ยังมีการ แปรรูปมะม่วงเป็นมะม่วงกวนด้วย ส่วนการเลี ยงกุ้งในตําบลท่าคาไม่ค่อยแพร่หลายมากนัก เมือ เทียบกับการทํานํ าตาล เพราะการเลี ยงกุ้งต้องใช้ต้นทุนสูง ต้องขุดบ่อ และในพื นทีตําบลท่าคายัง ไม่เอื ออํานวยต่อการเลี ยงกุ้ง การเลี ยงกุ้งในตําบลท่าคาจะมีอยู่เพียงสองบ่อซึงจะอยู่ในหมู่ ๙ และ ผ้าหมัดยอมในตําบลท่าคาจะทํากันอยู่ในหมู่ที 6 โดยให้ชาวบ้านในตําบลท่าคาไปเรียนรู้การทํา ผ้าหมัดย้อม ผ้าหมัดย้อมของตําบลท่าคาจะใช้วัสดุจากธรรมชาติเป็นหลัก แต่ในปัจจุบันการทําผ้า มัดยอมเริมซบเซาลง ทําให้กุ้งและผ้ามัดย้อมไม่ถือสินค้าหลักในตําบลท่าคา (ทวีป เจือไทย, 2553 :สัมภาษณ์)

ภาพที 4.15 การแลกเปลียนสินค้าในปัจจุบัน 1 แหล่งทีมา : ตําบลท่าคา, ถ่ายเมือ 19 เมษายน 2553

เดิมในตําบลท่าคาส่วนใหญ่จะแลกเปลียนกันโดยเปรียบเทียบราคาตามความพอใจของ แต่ละบุคคล กล่าวคือ หากมีการพบปะพูดคุยกันแล้วรู้สึกถูกอัธยาศัยก็จะแลกเปลียนสินค้าต่างๆ กัน แต่หากมีความต้องการทีจะบริโภค หมู ไก่ เนื อสัตว์ต่างๆ ต้องซื อจากตลาดภายนอกพื นที

นอกจากนี ยังมีการแลกเปลียนสินค้าท้องถินกับอาหารทะเล ปลาแห้ง ด้วย (จรูญ เจือไทย, 2553 : สัมภาษณ์) ส่วนปลานํ าจืดสามารถหาได้ตามร่องสวน โดยมักเป็นปลาช่อน ปลาตะเพียน ปลานํ า จืดต่างๆ รวมถึงกุ้งก้ามกราม ปูทะเล แต่หากเป็นพวกพืชผัก จะใช้การแลกกันภายในพื นที การซื อ ขายในพื นทีก็มีบ้างแต่ว่าน้อย จะเห็นได้ว่าการแลกเปลียนสินค้าจะแลกเปลียนของทีปลูกกัน ภายในพื นทีของตนเองโดยอาศัยทางนํ าในการสัญจร แต่เมือความเจริญเข้ามาภายในชุมชน มีการ ตัดถนนการเดินทางก็มีความสะดวกมากขึ น เป็นผลให้มีรถยนต์นําสินค้าต่างๆ เข้า-ออกเพือไปขาย นอกพื นทีได้ การมีห้างสรรพสินค้า และตลาดบก รวมถึงการทีชาวบ้านในพื นทีก็สามารถออกไป ประกอบอาชีพนอกตําบลได้ง่ายขึ น ส่งผลให้มีชาวบ้านประกอบอาชีพทําสวนตาลน้อยลง และ ปัจจุบันการแลกเปลียนสินค้าทีมีการสัญจรทางนํ าก็น้อยลงด้วย แต่ในวัน 2 คํา 7 คํา 12 คําก็ยังคง มีเรือมากอยู่โดยแม่ค้าจะมีตารางในการค้าขายอยู่ว่าวันใดต้องไปตลาดใด จากการทีมี

บุคคลภายนอกเข้ามาในพื นทีมากขึ นทําให้ตลาดนํ าท่าคาเน้นการซื อขายเป็นส่วนใหญ่ อาจ เนืองมาจากไม่คุ้นเคยกับบุคคลภายนอก แต่ก็ยังสามารถพบเห็นได้จากผู้สูงอายุทีอยู่ภายใน ตําบลซึงยังคงยึดถือวัฒนธรรมการดําเนินชีวิตแบบเดิมไว้ (จรูญ เจือไทย, นางฐานิดา สีเหลือง, ณรงค์ ธรรมสวัสดิ, นายวินัย นุชอุดม, 2553 : สัมภาษณ์) รายได้หลักของคนในพื นทีท่าคามาจาก มะพร้าว ซึงสามารถเพาะปลูกได้ง่ายกว่าและใช้เวลาน้อยกว่าสวนเตียน ปัจจุบันมีการทําเตาตาล ในหมู่ 10 มีประมาณสิบหลังคาเรือนจากหกสิบกว่าหลังคาเรือน พืชผักในปัจจุบันมีการเพาะปลูก ไว้เพือรับประทานในครัวเรือนบ้าง คนนอกพื นทีทีมักเข้ามาค้าขายส่วนใหญ่เป็นคนแม่กลอง บาง น้อยนอก อัมพวา โดยการค้าขายทีเกิดขึ นในพื นทีแต่เดิมเกิดขึ นในช่วงนํ าขึ นแต่ 2 คํา 7 คํา 12 คํา เนืองจากมีนํ ามาก แต่ปัจจุบันเพิมเสาร์-อาทิตย์ เพือให้นักท่องเทียวสามารถเข้ามาในพื นทีได้

สะดวกขึ น ผู้บริหารระดับท้องถินต้องการทีจะอนุรักษ์การค้าขายแบบดั งเดิมไว้จึงได้มีการควบคุม ระบบการค้าภายในพื นที โดยตั งราคาทีเป็นมาตรฐาน และปลูกฝังให้แม่ค้าซือสัตย์ต่ออาชีพ ติด ราคาสินค้า ไม่เน้นให้คนนอกเข้ามาค้าขาย(ณรงค์ ธรรมสวัสดิ, 2553 : สัมภาษณ์) บทบาทสําคัญ ของตลาดนํ าท่าคา คือ เป็นสถานทีแลกเปลียนสินค้า กระจายสินค้าให้กับชุมชน การมีตลาด นํ าท่าคา ทําให้ชาวบ้านสามารถกําหนดราคาสินค้าขึ นมาได้ด้วยตนเอง นอกจากนี คนในชุมชนยัง มีอาชีพเพิมขึ น คือ มีการพายเรือพานักท่องเทียวเทียว มีการบริหารจัดการในชุมชนกันเอง เช่น โฮมสเตย์ กลุ่มเรือพาย เป็นต้น (นางฐานิดา สีเหลือง, 2553 : สัมภาษณ์)

ภาพที 4.16 การแลกเปลียนสินค้าในปัจจุบัน 2 แหล่งทีมา : ตําบลท่าคา, ถ่ายเมือ 19 เมษายน 2553