• Tidak ada hasil yang ditemukan

ของตลาดนํ าท่าคา

2. ข้อมูลจากแบบสอบถาม

4.2 องค์ความรู้ในท้องถิน

4.2.2 สินค้าและการแปรรูป

ภาพที 4.11 เรือป๊าบ

แหล่งทีมา : เรือป๊าบ หรือบ้างครั งเรียกว่าเรือแตะ, 2553 : ออนไลน์

เฟอร์นิเจอร์ กะลาก็นําไปทําเฟอร์นิเจอร์ เครืองประดับ เช่น สร้อยคอ กระดุม การทํานํ าตาลก้อน ถือเป็นภูมิปัญญาทีมีมาแต่โบราณ นิยมทําเป็นนํ าตาลก้อนเล็กๆ นํ าตาลปึก เพือขายเป็นของฝาก สําหรับนักท่องเทียว ส่วนนํ าตาลปีบจะทําเพือขายคราวละมากๆ เป็นการขายส่งให้กับพ่อขาย ภายนอก ซึงจะนํารถมารับถึงเตาตาล (นายวินัย นุชอุดม, ทวีป เจือไทย,สัมภาษณ์) ส่วนนํ าตาลไซ รับเป็นการเรียนรู้ภูมิปัญญาเดิมและทดลองสร้างผลิตภัณฑ์ขึ นใหม่ เพือให้ได้นําตาลจากมะพร้าว ร้อยเปอร์เซ็น และสามารถเก็บรักษาได้นานขึ น โดยเทคนิคทีสําคัญ คือ ไม่อุ่น นํ าตาลไซรับ มี

ลักษณะเหมือนนํ าผึ ง แต่มีขั นตอนทีละเอียดกว่า คือ นํ าตาลทีได้มาจากต้นต้องเป็นนํ าตาลสดที

เก็บมาตอนเช้าแล้วนํามาเคียว (ไม่สามารถพักค้างคืนได้) ต้องเคียวรวดเดียวจนได้ที ถ้าอุ่นใหม่

จะจะทําให้นํ าตาลไม่หนึบ รสชาติเปลียน เป็นตะกอน นํ าตาลไซรับจะเป็นนํ าตาลมะพร้าวร้อย เปอร์เซ็น มีลักษณะใส ไม่คืนรูป มีคุณค่าทางโภชนาการสูง และไม่ทําให้อ้วน ไม่มีคลอเรสเตอรอล สามารถขายได้ราคาดีกว่านํ าตาลก้อน (นางฐานิดา สีเหลือง, นายณรงค์ ธรรมะสวัสดิ, 2553 : สัมภาษณ์)

นอกจากนี แล้วภายในตําบลท่าคายังมีกลุ้มจักรสานทีก้านมะพร้าวมาแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพือใช้งาน โดยส่วนใหญ่เน้นของใช้ทีใช้ฝีมือในการทํา และการใช้งานภายใน ครัวเรือน เช่น ฝาชี ตะกร้า เป็นต้น ทําให้งานมีความละเอียดสวยงาม นอกจากนี การจักรสาน ลวดลายต่างๆ เป็นการคิดค้นขึ นจากภูมิปัญญาของชาวบ้านโดยประธานกลุ่มจักรสาน ซึงจะคิด และทําชิ นงานขึ นโดยไม่ได้มีการวาดแบบร่างหรือคํานวณล่วงหน้า ทําให้เพือต้องการทีจะถ่ายทอด ความรู้ไปยังรุ่นต่อมานั นต้องใช้การสอนจากผู้คิดค้นลายขึ นเท่านั น ไม่สามารถทีจะเรียนรู้ด้วย ตนเองได้ โดยขั นตอนในการทํานั นจะมีความละเอียดอ่อนเป็นอย่างมาก

ภาพที 4.12 เครืองจักรสานจากทางมะพร้าว แหล่งทีมา : ตําบลท่าคา, ถ่ายเมือ 18 ตุลาคม 2553

การสานก้านมะพร้าวจะเริมจาการการคัดเลือกทางมะพร้าวทีต้องยังคัดเฉพาะยอดอ่อนที

มีสีเขียวอ่อนๆ เพือให้มีความอ่อนสามารถดัดให้โค้งตามรูปทรงได้ โดยส่วนมากก้านมะพร้าวทีได้

ภาพที 4.13 การสานทางมะพร้าว 1

แหล่งทีมา : ตําบลท่าคา, ถ่ายเมือ 18 ตุลาคม 2553

มาแล้วต้องมีการนํามาเหลาให้เรียบและรีบขึ นรูป มิฉะนั นก้านจะแข็งและแตกเมือสาน หลังจากนั นก็ขึ นรูปเป็นชิ นงาน

ภาพที 4.14 การสานทางมะพร้าว 2

แหล่งทีมา : ตําบลท่าคา, ถ่ายเมือ 18 ตุลาคม 2553

ผลิตภัณฑ์จักรสานของ ตําบลท่าคานั นได้รับรางวัลสินค้า...ของตําบล และเป็นทียอมรับ ในระดับนานาชาติ แต่เนืองจากลูกหลานของประธานกลุ่มจักรสานและชาวบ้านในชุมชนมีจํานวน น้อยทีสามารถผลิตชิ นงานได้ จึงทําให้ไม่สามารถสร้างมูลค่าเป็นสินค้าส่งออกได้ เนืองจาก ปริมาณในการสังสินค้าแต่ละคราวมีจํานวนมาก ทําให้ปัจจุบันกลุ่มจักรสานมีจํานวนสมาชิกอยู่

เพียง 3-5 คน ซึงเป็นสมาชิกในครอบครัว สินค้าทีผลิตขึ นมานั นจะผลิตตามสัง โดยไม่มีวางขายใน ตลาดนํ า

ส่วนการแปรรูปเป็นสินค้าอืนๆ ก็นิยมแปรรูปโดยอาศัยพืชหลักของพื นทีคือ มะพร้าวหรือ นํ าตาลมะพร้าวโดยการแปรรูปเป็นขนมถ้วย ขนมใส่ไส้ ข้าวต้มมัด ขนมกล้วย นอกจากนี ยังมีการ แปรรูปมะม่วงเป็นมะม่วงกวนด้วย ส่วนการเลี ยงกุ้งในตําบลท่าคาไม่ค่อยแพร่หลายมากนัก เมือ เทียบกับการทํานํ าตาล เพราะการเลี ยงกุ้งต้องใช้ต้นทุนสูง ต้องขุดบ่อ และในพื นทีตําบลท่าคายัง ไม่เอื ออํานวยต่อการเลี ยงกุ้ง การเลี ยงกุ้งในตําบลท่าคาจะมีอยู่เพียงสองบ่อซึงจะอยู่ในหมู่ ๙ และ ผ้าหมัดยอมในตําบลท่าคาจะทํากันอยู่ในหมู่ที 6 โดยให้ชาวบ้านในตําบลท่าคาไปเรียนรู้การทํา ผ้าหมัดย้อม ผ้าหมัดย้อมของตําบลท่าคาจะใช้วัสดุจากธรรมชาติเป็นหลัก แต่ในปัจจุบันการทําผ้า มัดยอมเริมซบเซาลง ทําให้กุ้งและผ้ามัดย้อมไม่ถือสินค้าหลักในตําบลท่าคา (ทวีป เจือไทย, 2553 :สัมภาษณ์)