• Tidak ada hasil yang ditemukan

ภำพประกอบ 2 กำรพัฒนำควำมรู้ดิจิทัล 3 ระดับ ที่มำ : Martin (2009)

ระดับ 1สมรรถนะดิจิทัล (ทักษะ ,ความคิดรวบยอด ,วิธีการ ,ทัศนคติ และอื่น ๆ))

ระดับ 3 การเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล (นวัตกรรม/การสร้างสรรค์)

ระดับ 2 การใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัล (มืออาชีพ/โปรแกรมประยุกต์)

ถึงแม้ว่ำสมรรถนะดิจิทัลและกำรรู้ดิจิทัลจะมีควำมคล้ำยคลึงกันมำก แต่อย่ำงไรก็

ตำม ทั้ง 2 ค ำนี้ไม่ได้มีควำมเหมือนกันหรือมีควำมหมำยระดับเดียวกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับบริบทและวิธีที

ต้องกำรศึกษำ (Meyers, Erickson, และ Small, 2013) โดยสมรรถนะดิจิทัลจะเน้นกำรวัดทักษะ และควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่บุคคลควรมีในยุคดิจิทัลส ำหรับกำรท ำงำน กำรพักผ่อน และกำรศึกษำอย่ำงมีควำมมั่นใจและมีวิจำรณญำณ ในขณะที่กำรรู้ดิจิทัลเป็นแนวคิด ของกระบวนทัศน์ หรือชุดของควำมเข้ำใจ เป็นกำรสร้ำงวัฒนธรรมจำกภำพ ค ำพูด และเสียง โดยใช้ข้อมูลจำกหลำยรูปแบบและหลำยแหล่งซึ่งเป็นองค์ควำมรู้ที่ซับซ้อนและจ ำเป็นเพื่อให้

สำมำรถท ำงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพในสภำพแวดล้อมดิจิทัล (กณิชชำ ศิริศักดิ์, 2559, น. 7) จำกข้ำงต้น ผู้วิจัยสรุปได้ว่ำ สมรรถนะดิจิทัล เป็นชุดของควำมรู้ ทักษะ และควำมสำมำรถในกำรประยุกต์ใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่ำง ๆ ไม่ว่ำจะเป็นกำรใช้คอมพิวเตอร์

โทรศัพท์สมำร์ทโฟน หรือแท็บเล็ต (Tablet) ประกอบกำรกับกำรใช้เครือข่ำยอินเตอร์เน็ตในกำร ประยุกต์ใช้กับกำรท ำงำนต่ำง ๆ ให้ประสบผลส ำเร็จอย่ำงมีประสิทธิภำพำกขึ้น

2.2 ความหมายของสมรรถนะดิจิทัล

มีนักวิชำกำรได้ให้ควำมหมำยของค ำว่ำสมรรถนะดิจิทัลที่แตกต่ำงกัน ซึ่งแต่ละคนได้

ให้ควำมหมำยไว้ดังนี้

คณะกรรมำธิกำรยุโรป (European Union, 2006 cited in Ferrari, 2012; Gallardo- Echenique และคนอื่น ๆ, 2015) ได้ให้ควำมหมำยของสมรรถนะดิจิทัลไว้ว่ำ หมำยถึง ควำมรู้และ ทักษะที่จ ำเป็นต่อกำรใช้งำนเทคโนโลยีสำรสนเทศและสื่อดิจิทัลในกำรท ำงำน กำรเรียน และกำรใช้ชีวิตประจ ำวัน รวมไปถึงกำรมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นผ่ำนทำงเทคโนโลยีอย่ำงมี

วิจำรณญำณและสร้ำงสรรค์

คำลวำนิและคณะ (Calvani และคนอื่น ๆ, 2012) ได้เสนอควำมหมำยของสมรรถนะ ดิจิทัลว่ำ เป็นควำมสำมำรถในกำรส ำรวจและกำรเผชิญสถำนกำรณ์ใหม่ ๆ ทำงเทคโนโลยี

โดยสำมำรถเลือกวิเครำะห์ และประเมินข้อมูลสำรสนเทศอย่ำงมีประสิทธิภำพ เพื่อให้สำมำรถ แก้ปัญหำ และสร้ำงควำมรู้ใหม่ที่สำมำรถแบ่งปันร่วมกับผู้อื่นได้ อีกทั้งยังกระตุ้นให้เกิดควำม ตระหนักในควำมรับผิดชอบทั้งในเรื่องส่วนตัวและเคำรพสิทธิของผู้อื่น

เฟอร์รำรี (Ferrari, 2012) ได้ให้ควำมหมำยของสมรรถนะดิจิทัลไว้ว่ำเป็นชุดของ ควำมรู้ ทักษะ ทัศนคติ ควำมสำมำรถ กลยุทธ์และควำมตระหนักที่จ ำเป็นในกำรน ำเทคโนโลยี

สำรสนเทศและสื่อดิจิทัลไปใช้ในกำรปฏิบัติงำน เพื่อแก้ไขปัญหำ สื่ อสำรจัดกำรข้อมูล สร้ำงควำมร่วมมือ แบ่งปันเนื้อหำ และสร้ำงองค์ควำมรู้ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและเหมำะสม

แฮทเลวิคและคณะ (Hatlevik และคนอื่น ๆ, 2015) ได้ให้ควำมหมำยของสมรรถนะ ดิจิทัลว่ำ เป็นทักษะควำมรู้ และทัศนคติที่ท ำให้สำมำรถใช้สื่อดิจิทัลในกำรมีส่วนร่วม กำรท ำงำน และกำรแก้ปัญหำอย่ำงเป็นอิสระ รวมทั้งสำมำรถท ำงำนร่วมกับผู้อื่นด้วยควำมสร้ำงสรรค์

มีควำมรับผิดชอบและมีวิจำรณญำณ

กณิชชำ ศิริศักดิ์ (2559, น. 8) ได้สรุปควำมหมำยของสมรรถนะดิจิทัลว่ำ หมำยถึง ชุดควำมรู้ที่มำจำกกำรรวมตัวกันของควำมรู้ในหลำย ๆ ด้ำน ที่เป็นทักษะพื้นฐำน ควำมรู้ และ ทัศนคติที่จ ำเป็นในกำรใช้เทคโนโลยีกำรสื่อสำรและสื่อดิจิทัลด้วยควำมมั่นใจ ควำมมีวิจำรณญำณ ควำมรับผิดชอบ และควำมสร้ำงสรรค์ในกำรท ำงำน กำรสันทนำกำร และกำรสื่อสำร เพื่อให้

สำมำรถปฏิบัติงำนส่วนบุคคล สำมำรถแบ่งปันข้อมูล และท ำงำนร่วมกันกับผู้อื่นได้รำบรื่น รวมไป ถึงกำรสร้ำงองค์ควำมรู้ใหม่ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ

ปรำโมทย์ ถ่ำงกระโทก (2561, น. 8) ได้สรุปควำมหมำยของสมรรถนะดิจิทัลว่ำ หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศไปใช้ในกำรปฏิบัติงำน กำรติดต่อสื่อสำร กำรเรียนรู้ กำรพัฒนำตนเองจำกกำรฝึกอบรมและกำรสร้ำงกำรมีส่วนร่วมในสังคม

จำกควำมหมำยข้ำงต้น สรุปได้ว่ำ สมรรถนะดิจิทัล หมำยถึง ควำมรู้ ทักษะ คุณลักษณะและทัศนคติในกำรใช้งำนเทคโนโลยีสำรสนเทศหรือสื่อดิจิทัลต่ำง ๆ ไม่ว่ำจะเป็นกำร ท ำงำน กำรเรียนรู้ กำรพัฒนำตนเอง กำรใช้ชีวิตประจ ำวันหรือกำรมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นทำง เทคโนโลยีบนพื้นฐำนของกำรตระหนักในควำมรับผิดชอบ ควำมมีวิจำรณญำณและควำม สร้ำงสรรค์ในกำรท ำงำนเพื่อแก้ไขปัญหำร่วมกัน ลดระยะทำงและเวลำในกำรสื่อสำรข้อมูลได้อย่ำง ใกล้ชิดและแพร่หลำยในวงกว้ำง อีกทั้งยังเป็นกำรแบ่งปันข้อมูลต่ำง ๆ ได้อย่ำงทั่วถึงและมี

ประสิทธิภำพ

2.3 องค์ประกอบของสมรรถนะดิจิทัล

จำกกำรศึกษำทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี และงำนวิจัยต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยได้ค้นพบแนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบสมรรถนะดิจิทัลพอสมควร แนวคิดที่

ส ำคัญ มีดังนี้

ครุมสวิก (Krumsvik, 2008) ได้เสนอโมเดลสมรรถนะดิจิทัลเพื่อเป็นแนวทำงในกำร พัฒนำสมรรถนะดิจิทัลให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับกำรศึกษำโดยเฉพำะครูผู้สอน โมเดลสมรรถนะดิจิทัล นี้ ได้แสดงให้เห็นถึงควำมซับซ้อนของสมรรถนะที่ครูจะต้องมีในยุคดิจิทัล โดยโมเดลมี

ส่วนประกอบทั้งหมด 4 ส่วน คือ 1. ทักษะไอซีทีพื้นฐำน (Basic ICT Skill) 2. สมรรถนะไอซีที

ส ำหรับกำรสอน (Didactic ICT Competence) 3. วิธีกำรเรียนรู้ (Learning Strategies) และ 4. กำรพัฒนำทำงดิจิทัล (Digital building) ซึ่งเป็นส่วน ที่ไม่ได้แสดงในรูปโมเดล และเป็นส่วนที่

เป็นจุดตัดของ 3 ส่วนแรก ดังภำพประกอบ 3

ภำพประกอบ 3 โมเดลสมรรถนะดิจิทัล