• Tidak ada hasil yang ditemukan

กิตติกรรมประกาศ

ผู้วิจัยขอขอบคุณมหาวิทยาลัยหาดใหญ่

ที่ได้สนับสนุนทุนในการดำาเนินการวิจัยครั้งนี้และ ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องที่ช่วยให้งานวิจัย เล่มนี้สำาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

เอกสารอ้างอิง

กอแก้ว จันทร์กิ่งทอง. (2549). ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำาวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยในจังหวัด สงขลา. (รายงานการวิจัย) มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. สงขลา.

จิรารัตน์ ภูสีฤทธิ์ สีดา สอนศรี และยุพา คลังสุวรรณ์. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำาวิจัยของบุคลากร สายสนับสนุนระดับพนักงานปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 34(3), 31-35.

ฐิติพร ตันติศรียานุรักษ์ รัชฎา ธิโสภา และอรดา เกรียงสินยศ. (2548). ปัจจัยที่มีผลต่อการทำาวิจัยของ บุคลากรสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

นพวรรณ รื่นแสง เบญจมาศ เป็นบุญ และวรวรรณ สโมสรสุข. (2555). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำางานวิจัย ของบุคลากรสายสนับสนุนของโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. หน่วยวิเคราะห์แผน งบประมาณและวิจัยสถาบัน โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ (รายงานการวิจัย).

น้ำาฝน พลอยนิลเพชร และคณะ. (2559). วิเคราะห์จำาแนกปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำาวิจัยของอาจารย์ใน สถาบันอุดมศึกษาจังหวัดสงขลา. รายงานการวิจัย

ปรารถนา อเนกปัญญากุล. (2557). ปัจจัยที่ส่งผล ต่อพฤติกรรมการทำาวิจัยของบุคลากร คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารนเรศวรพะเยา, 7(3), 275-285.

วรางคณา ผลประเสริฐ. (2559). แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเชิงกลยุทธ์. จาก http://www.stou.ac.th/

schools/shs/upload/หน่วยที่ 1 ชุด วิชา%2058708.pdf. ค้นเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2561.

วณิดา พิงสระน้อย. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการทำาวิจัยของบุคลากรสายวิชาการ กลุ่มวิทยาศาสตร์

สุขภาพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ.

วิไลวรรณ จันน้ำาใส. (2555). ศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับสมรรถนะการวิจัยในชั้นเรียนของครู สังกัด สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30. วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการ วิจัยและพัฒนาหลักสูตรบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. กรุงเทพ.

ศิริชัย กาญจนวาสี ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์ และดิเรก ศรีสุโข. (2555). การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสม สำาหรับ การวิจัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมเจตน์ นาคเสวี อุสมาน ราษฎร์นิยม และยุสนา เจะเลาะ. (2550). ศึกษาเจตคติต่อการวิจัยและปัจจัย ที่เอื้อต่อแรงจูงใจในการทำาวิจัยของบุคลากรวิทยาลัยอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วิทยาเขตปัตตานี. (รายงานวิจัย) ปัตตานี.

สำานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2552). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ.

สำานักบริหารทรัพยากรมนุษย์. (2562). จำานวนอาจารย์ที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยหาดใหญ่ปี 2562.

รายงานข้อมูลบุคลากร.

Manida Chuea-Insoong1, Pokasarp Poompuang2, Pornpimon Namwong3 มานิดา เชื้ออินสูง1, โภคทรัพย์ พุ่มพวง2, พรพิมล นามวงศ์3

Received: 19 February2021 Revised: 3 May 2021 Accepted: 12 May 2021

Abstract

This study of the supply chain of organic rice in Suphan Buri Province aimed at surveying the stakeholders in the supply chain, which have been linked together from upstream, midstream, and downstream. It also analyzed the supply chain in terms of quantity and income/value received by the farmers. This study was based on a qualitative approach.

The 4 groups of research population and the sample were Suphan Buic organic company limited social enterprise. Community enterprise for the promotion of organic farmers. Thung Thong organic community enterprise and export organic rice. The government sector, private sector, financial sector and educational institutes cooperated to find development guidelines for shifting the supply chain to he a value chain. The result indicated that the upstream in 4 groups included the farmers who sold the production factors ; the, government sector, educational institutes, financial institutions and, inspection agencies. The midstream stakeholders included the personal rice mills and community rice mills. The downstream stakeholders included the consumers who were the direct purchasers, retailers, wholesalers, farmers who purchased the rice seed, exporters, and community markets. From an analysis of the supply chain of organic rice in Suphan Buri Province in terms of quantity, income, and value received by farmers, the value of the whole supply chain was THB 6,608,100 with the average

1 Lecturer, Faculty of Social Science,Suan Dusit University Suphan Buri Campus, mobile 0892627616. Email: manida_chu@dusit.ac.th

2 Logistic system Development, Department Manager, BG Container Glass Public Company Limited and Thai Logistics and Production Society, Bangkok, mobile 0819078384. Email: pokasarp.p@bgiglass.com

3 Lecturer, Faculty of Education, Suan Dusit University Suphan Buri Campus, mobile 0982695392. Email: pornpimon_nam@dusit.ac.th

1 สาขาวิชาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสพุรรณบุรี

2 ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาระบบจัดส่ง, สมาคมไทยโลจิสติกส์และการผลิต

3 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี

output per person of 34.2 tons/Rai/year, average production cost of THB 26.94/kilogram, average selling price received by famers of THB 48.75-80/kilo, and average return received by farmers of THB 21.80-53/kilogram. From theid results, it was suggested that the circular economy of organic rice in Suphan Buri Province should be studied.

Keywords: Supply chain, Organic rice, Stakeholder

บทคัดย่อ

การวิจัย เรื่อง การศึกษาห่วงโซ่อุปทานข้าวอินทรีย์ในจังหวัดสุพรรณบุรี มีวัตถุประสงค์ เพื่อ สำารวจข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในห่วงโซ่อุปทานข้าวอินทรีย์ในจังหวัดสุพรรณบุรี ที่มีความเชื่อมโยงกัน ตั้งแต่ต้นน้ำา กลางน้ำา และปลายน้ำา และวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานด้านปริมาณ รายได้/มูลค่าที่เกษตรกร ได้รับในห่วงโซ่อุปทานข้าวอินทรีย์ในจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร คือ บริษัท ออร์แกนิคสุพรรณบุรี (วิสาหกิจเพื่อสังคม) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มส่งเสริมเกษตรกรอินทรีย์ วิสาหกิจชุมชน เกษตรอินทรีย์ทุ่งทองยั่งยืน และข้าวส่งออก-บ้านสวนข้าวขวัญนาข้าวอินทรีย์ วิธีการศึกษา คือ การ ประชุมกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่ม และประชุมกลุ่มใหญ่ รวมภาครัฐ ร้านค้าปลีก ภาคเอกชน และสถาบันการ ศึกษา เพื่อหาแนวทางพัฒนาเพื่อยกระดับเป็นโซ่คุณค่า ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรต้นน้ำาทั้ง 4 กลุ่ม ประกอบด้วย เกษตรกร ผู้ขายปัจจัยการผลิต ภาครัฐ สถาบันการศึกษา สถาบันการเงิน หน่วยงาน ตรวจรับรอง กลางน้ำา ได้แก่ โรงสีข้าวตนเองและโรงสีข้าวชุมชน ปลายน้ำา ได้แก่ ผู้บริโภคที่ซื้อ ข้าวอินทรีย์จากเกษตรกรโดยตรง ผู้แปรรูป ผู้ค้าปลีก ผู้ค้าส่ง เกษตรกรที่ซื้อพันธุ์ข้าวปลูก ผู้ส่งออก และตลาดชุมชน ผลการวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานข้าวอินทรีย์ในจังหวัดสุพรรณบุรีด้านปริมาณ รายได้และ มูลค่าที่เกษตรกรได้รับมีมูลค่ารวมทั้งห่วงโซ่ 6,608,100 บาท ผลผลิตรวมเฉลี่ยต่อราย 34.2 ตัน/ไร่/ปี

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 26.94 บาท/กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรผู้ปลูกขายได้เฉลี่ย 48.75-80 บาท/กิโลกรัม และผลตอบแทนที่เกษตรกรได้รับเฉลี่ย 21.80-53 บาท/กิโลกรัม ผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะให้มีการศึกษา เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ข้าวอินทรีย์ในจังหวัดสุพรรณบุรี

คำาสำาคัญ: ห่วงโซ่อุปทาน, ข้าวอินทรีย์, ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย