• Tidak ada hasil yang ditemukan

ข้อเสนอแนะการนำาผลการวิจัยไปใช้

โปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้าน สุขภาพในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก นี้สามารถควบคุมค่าดัชนีลูกน้ำายุงลายในพื้นที่

ให้ลดลงได้ ดังนั้นบุคลากรในพื้นที่สามารถนำา แนวทางกิจกรรมการสร้างความรอบรู้ การพัฒนา

ทักษะด้านการใช้ข้อมูลข่าวสาร การเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร การสร้างความเข้าใจ การสื่อสารทาง สุขภาพ รวมถึงการตัดสินใจนำาไปใช้ตามกิจกรรม ของโปรแกรมฯ ไปประยุกต์ใช้ เพื่อปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของประชาชนในการควบคุมโรค ไข้เลือดออกในพื้นที่ที่มีการระบาดสูงต่อไป

ข้อเสนอแนะสำาหรับงานวิจัยในครั้ง ต่อไป

จากผลการศึกษาครั้งนี้พบว่าความรอบรู้

ด้านการเข้าถึงข้อมูลและการไต่ถามโดยใช้เทคนิค ask me และ teach back ยังมีค่าเฉลี่ยในระดับต่ำา ดังนั้นควรมีการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาความ รอบรู้ด้านสุขภาพในด้านทักษะการเข้าถึงและ ทักษะด้านการไต่ถาม โดยเพิ่มกิจกรรมและระยะ เวลาในการพัฒนาทักษะด้านนี้อย่างน้อย 2-3 ครั้ง เพื่อให้เกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นที่จะ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน

เอกสารอ้างอิง

กานต์ณิพิชญ์ ปัญญธนชัยกุล, สุทธีพร มูล, วร วรรณ ชัยลิมปมนตรี. (2563). ประสิทธิผลของ โปรแกรม การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพใน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อโรคไต เรื้อรัง.

วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและ การศึกษา, 21(1), 41-54.

กรมควบคุมโรค. (2562). รายงานพยากรณ์โรค ไข้เลือดออก ปี 2562. ได้มาจาก https://ddc.moph.

go.th/uploads/publish/1026720200625043825.pdf

กองสุขศึกษา. (2561). การเสริมสร้างและการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ.

ฉบับปรับปรุง. กรมสนับสนุนบริการ สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข.

ขวัญเมือง แก้วดำาเกิง. (2562). ความรอบรู้ด้าน สุขภาพ ขั้นพื้นฐาน ปฏิสัมพันธ์ วิจารณญาณ. กรุงเทพ:

อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่งจำากัด (มหาชน).

จิรวรรณ วันสามง่าม. (2559). รายงานวิจัยพฤติกรรมการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกของ ประชาชนในพื้นที่ที่มีการระบาดต่ำาและพื้นที่ที่มีการระบาดสูง เขตอำาเภอ เมือง จังหวัดตรัง.

วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง.

จันทกานต์ วลัยเสถียร, ธนิดา ผาติเสนะ. (2557). ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในบุคลากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงของสำานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัด นครราชสีมา. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 38:

บัณฑิตศึกษากับการพัฒนาสู่โลกาภิวัฒน์ (The 38th National Graduate Research Conference: Graduate Research towards Globalization) (น.750-759). มหาวิทยาลัย นเรศวร

ชาตรี แมตสี่, ศิวิไลซ์ วนรัตน์วิจิตร. (2560). การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ: จากแนวคิดสู่การ ปฏิบัติ. วารสารวิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 9(2), 96-111.

ชัยวัฒน์ แพทย์พงศ์. (2563). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้

เลือดออกของประชาชนในอำาเภอเมือง จังหวัดสงขลา. วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคใต้, 34(1), 109-122.

ณรงค์ศักดิ์ อินต๊ะ, ณรงค์ ณ เชียงใหม่, ทรงยศ คำาชัย. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของประชาชน ตำาบลข่วงเปา อำาเภอจอมทอ จังหวัด เชียงใหม่. พิฆเนศวร์สาร, 10(1), 37-47

นิทรา กิจธีระวุฒิวงษ์. (2558). การนำาความฉลาด ทางสุขภาพไปปฏิบัติงานสาธารณสุข. วารสารวิจัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 8(2), 68-75.

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลหนองตรุด. (2562). ข้อมูลครัวเรือน. ตรัง

ศณิษา ตันประเสริฐ. (2561). ประสิทธิผลของการมีส่วนร่วมของชุมชนกับการลดดัชนีลูกน้ำายุงลาย.

วารสารควบคุมโรค, 44(2), 185-196.

สถาบันป้องกันและควบคุมโรคเขตเมือง. (2561). แนวทางการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ในเขตเมืองUrban Dangue unit Guideline. จังหวัดนนทบุรี. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์

การเกษตรแห่งประเทศไทย จำากัด.

สิวลี รัตนปัญญา. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกใน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำา หมู่บ้าน จังหวัดเชียงใหม่. วารสารราชพฤกษ์, 16(2), 87-96.

สำานักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง. (2562). ข้อมูลระบาดวิทยา. (2562 มกราคม 24): ได้มาจาก www.

tro.moph.go.th/provis/main/index.php.

อดุลย์ ฉายพงษ์, ปริมล อ่อนมะเสน. (2563). ปัจจัยมีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อการ ป้องกันโรคไข้เลือดออกของเด็กวัยเรียน อำาเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี. วารสารควบคุมโรค, 46(2), 152-161.

อมลรดา รงค์ทอง, สุพัฒนา คำาสอน. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออกของประชาชน อำาเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชียฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 13(1), 147-158

อัญชลี จันทรินทรากร. (2557). ความสัมพันธ์ ระหว่างความฉลาดทางสุขภาพกับพฤติกรรมการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในเขตเทศบาลตำาบล สวนหลวง อำาเภอกระทุ่มแบน จังหวัด สมุทรสาคร. (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (สุขศึกษา). กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

EU Consortium. (2012). Comparative report on health literacy in eight EU member states [Internet]. The European Health Literacy Survey HLSEU ; 2012 [cited 2020 November 26]. Available from: www.HEALTH-LITERACY.EU.

Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J. & Anderson, R.E. (2010). Multivariate Data Analysis.

(7th ed.). Pearson: New York.

Nutbeam, D. (2008). Health Literacy and adolescents: a framework and agenda for future research. Health Education Research, 23(5), 840-847.

World Health Oganization. (2019). Dengue and severe dengue case management. (2020 December 24). Avliable from: https://www.int/health-topics/dengue-and-severe- dengue#tab=tab_3.

ศิริรัตน์ เจนศิริศักดิ์1 Sirirut Jaensirisak1

Received: 26 April 2021 Revised: 9 June 2021 Accepted: 6 July 2021

บทคัดย่อ

องค์ประกอบหนึ่งในการสร้างแรงจูงใจในการทำางานขององค์กรคือการจัดสวัสดิการที่ดีให้กับ พนักงาน และสวัสดิการที่จะทุกองค์กรควรพิจารณาจัดหาให้กับพนักงานคือการจ่ายค่ารักษาพยาบาลให้

กับพนักงาน หรืออาจรวมถึงบุพการี คู่มสมรส และบุตร ของพนักงาน บทความวิชาการนี้วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับองค์กรและพนักงานในการจัดสวัสดิการเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาล ค่าเบี้ย ประกันชีวิต ค่าเบี้ยประกันสุขภาพ รวมถึงค่าฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคระบาด เช่น โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา โดยพิจารณาถึงผลประโยชน์สูงสุดที่พนักงานและองค์กรจะได้รับในประเด็นของภาษีอากรตามประมวล รัษฎากร

บทความนี้ได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากงานวิจัยที่ผ่านมา กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และหนังสือ ตอบข้อหารือของกรมสรรพากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่กล่าวไว้ข้างต้น เพื่อประโยชน์แก่พนักงานและองค์กร ทั้งในด้านภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษี

เงินได้นิติบุคคล กล่าวคือ เงินได้ค่ารักษาพยาบาลได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและพนักงาน ไม่ต้องนำามาถือเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร เช่นเดียวกับองค์กรที่จัด สวัสดิการให้กับพนักงาน ก็สามารถนำารายจ่ายค่ารักษาพยาบาลและอื่นๆ มาถือเป็นรายจ่ายขององค์กร ได้ โดยไม่ถือเป็นรายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร ดังนั้น องค์กรจำาเป็นที่จะต้อง จัดสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลให้เข้ากับองค์ประกอบที่กฎหมายกำาหนดไว้ เพื่อประโยชน์สูงสุดทางภาษี

อากร ดังนี้ (1) องค์กรต้องมีการกำาหนดให้มีการจ่ายค่ารักษาพยาบาลไว้ในระเบียบสวัสดิการพนักงาน โดยไม่เลือกปฏิบัติกับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง (2) พนักงานต้องมีหลักฐานเอกสารการจ่ายค่ารักษาพยาบาล เช่น ใบเสร็จรับเงิน เพื่อพิสูจน์ว่าได้มีการจ่ายจริง และจ่ายไปทั้งหมดเพื่อการนั้น และ (3) องค์กรจะต้อง เบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลให้กับพนักงานตามเท่าที่ได้จ่ายไปจริงตามหลักฐาน

ทั้งนี้ การจ่ายค่าสวัสดิการให้พนักงานสำาหรับค่าเบี้ยประกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา และค่า ฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ไม่ถือว่าเป็นการจ่ายค่ารักษาพยาบาล หรือค่าวัคซีนเพื่อ การรักษาพยาบาล ดังนั้น จึงไม่ถือว่าเป็นเงินได้ที่ได้รับการยกเว้น และพนักงานต้องนำาประโยชน์ที่ได้

1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาการบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

โทร: 086-8689297, E-mail: sirijaen@gmail.com

1 Assistant Professor, Department of Accounting Ubon Ratchathani Business School, Ubon Ratchathani University

รับมาถือเป็นเงินได้ที่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา อย่างไรก็ตาม ไม่รวมถึงค่าเบี้ยประกันภัยกลุ่ม ที่องค์กรจ่ายให้กับพนักงานเฉพาะส่วนที่คุ้มครองค่ารักษาพยาบาลซึ่งได้รับการยกเว้นไม่ต้องถือเป็น เงินได้พึงประเมินของพนักงาน

คำาสำาคัญ: ค่ารักษาพยาบาล, ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา, ภาษีเงินได้นิติบุคคล

Abstract

One element of organizational motivation is good welfare for employees and the welfare that every organization should consider providing for its employees is disbursement of medical expenseor This may include parents, spouses and children of the employee. This academic article aims to create an understanding of the organization and employees in providing welfare related to medical expenses, life insurance and health insurance including vaccination to prevent epidemic disease ; for example, COVID-19 by considering the maximum benefits that employees and the organization will receive in terms of taxes and duties under the revenue code.

This paper studied and collected information from past research, relevant laws and discussed letters which involves medical welfare and other expenses mentioned above for the benefit of employees and the organization in terms of personal income tax and corporat iIncom income tax. In other words, medical income is exempt from personal income tax and employees are not required to be considered as assessable income under section 39 of the revenue code same as in organizations that provide welfare for employees can be treated as medical expenditures and also is not considered a prohibited expense under section 65 ter of the revenue code.

Therefore, the organization needs to align medical welfare with the legal elements for the maximum benefit of taxation as follows. (1) The organization must define the reimbursement of medical expenses in the employee welfare regulations without discriminating against any person.

(2) Employees must have evidence of medical expenses, such as receipts to prove that it has actually been paid and paid for it all, and (3) The organization must reimburse the employees for the medical expenses they actually paid on the basis of such evidencnd.

Remember that, employee benefits of payment for health insurance in terms of corona- virus infection and vaccination fees for coronavirus infection are not considered a payment for medical treatment or vaccines for medical treatment. Therefore, it is not considered exempted income and employees have to take the benefits as assessable income subject to personal income tax. This does not include group insurance that the organization pays to employees, only for the portion that covers medical expenses. However, it does not include group insur- ance premiums that the organization pays to employees only for the portion that covers medical expenses, which is exempted from being regarded as the assessable income of the employee.

Keywords: Medical expenses, Personal Income Tax, Corporate Income Tax