• Tidak ada hasil yang ditemukan

ขนาดสถานศึกษาเป็นชั้นในกลุ่ม และก าหนดสัดส่วนตามขนาดประชากร

ขนาด ประชากร กลุ่มตัวอย่าง

ครูผู้สอน ครูผู้สอน

ขนาดเล็ก(1-120) 608 120

ขนาดกลาง(121-499) 773 152

ขนาดใหญ่(500-2500) 185 36

รวม 1,562 308

ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.2562 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3.1 ลักษณะของเครื่องมือ แบบสอบถาม

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่

พึงประสงค์การจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียน ส าหรับสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวล าภู เขต 1 เป็นแบบสอบถามจ านวน 1 ฉบับ แบ่งออกเป็น 2 ตอน

ตอนที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ

วุฒิการศึกษา ต าแหน่ง และประสบการณ์ในการท างาน เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์

ของการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียน ส าหรับสถานศึกษาสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวล าภู เขต 1 โดยใช้ขั้นตอนการจัดการเรียน การสอนเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ที่ได้จากการสังเคราะห์จากแนวคิดของนักการศึกษา หลายท่านมาสร้างแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ และได้ก าหนดน้ าหนักคะแนนตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert) คือ

5 หมายถึง สภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์ฯ อยู่ในระดับมากที่สุด 4 หมายถึง สภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์ฯ อยู่ในระดับมาก 3 หมายถึง สภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์ฯ อยู่ในระดับปานกลาง 2 หมายถึง สภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์ฯ อยู่ในระดับน้อย 1 หมายถึง สภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์ฯ อยู่ในระดับน้อยที่สุด

119 3.2 วิธีการสร้างเครื่องมือและหาคุณภาพแบบสอบถาม

ผู้วิจัยได้ด าเนินการสร้างแบบสอบถาม ตามขั้นตอนดังนี้

3.2.1 ศึกษาขั้นตอนการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของผู้เรียนมาสร้างเป็นแบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การจัดการเรียนรู้ เพื่อ ส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียน ส าหรับสถานศึกษาสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาหนองบัวล าภู เขต 1

3.2.2 สร้างแบบสอบถามโดยยึดความมุ่งหมายและจากนิยามศัพท์เป็นหลัก 3.2.3 น าเครื่องมือเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเพื่อหาค่าความเที่ยงตรง ด้านเนื้อหาโดยหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อค าถามซึ่งก าหนดค่าตั้งแต่ .05 ขึ้นไป โดยผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 5 คน โดยมีเกณฑ์คุณสมบัติก าหนดดังต่อไปนี้

1) อาจารย์ประจ าสถาบันอุดมศึกษาซึ่งมีวุฒิไม่ต่ ากว่าปริญญาเอก มีประสบการณ์การด้านการสอนเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปีจ านวน 1 คน

2) ศึกษานิเทศก์ซึ่งมีวุฒิไม่ต่ ากว่าปริญญาโทด้านหลักสูตรและการสอน มีประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 2 ปีจ านวน 2 คน

3) ข้าราชการครู ซึ่งวุฒิไม่ต่ ากว่าปริญญาโท มีต าแหน่งช านาญการพิเศษ และมีประสบการณ์ทางด้านการสอนเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี จ านวน 2 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบ เจาะจง (Purposive Sampling) ประกอบด้วยดังนี้

3.1) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัชชัย จิตรนันท์ วุฒิการศึกษา ครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ต าแหน่งอาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

3.2) นายสุขอนันต์ อักษร การศึกษามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและ การเรียนการสอนต าแหน่งศึกษานิเทศก์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวล าภู

เขต 1

3.3) นางสาวอัมรา เวียงแสง วุฒิการศึกษา การศึกษามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการเรียนการสอนต าแหน่งศึกษานิเทศก์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา หนองบัวล าภู เขต 1

3.4) นางสาวณัฐชา แก้วเนตร การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารและพัฒนาการศึกษา ต าแหน่งครูช านาญการพิเศษโรงเรียนเสลภูมิ สังกัดส านักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27

3.5) นายพงษ์ภิญโญ พรหมเมตตา การศึกษามหาบัณฑิต สาขาบริหาร และพัฒนาการศึกษา ต าแหน่งครูช านาญการพิเศษโรงเรียนบ้านนาแพง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาหนองบัวล าภูเขต 1

120 3.2.4 น าแบบสอบถามไปปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าของผู้เชี่ยวชาญ 3.2.5 น าแบบสอบถามที่ได้ไปทดลองใช้กับครูในสถานศึกษาสังกัดส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวล าภู เขต 1 ที่เป็นกลุ่มประชากรที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจ านวน 30 ชุด แล้วน าแบบสอบถามที่ทดลองใช้มาหาค่าอ านาจจ าแนกของแบบประเมินเป็นรายข้อ โดยค่าที่ได้มีดังนี้ 1) การเตรียมความพร้อม 1.85 2) การเสนอสถานการณ์ที่เป็นปัญหา 1.88 3) การฝึกคิดและรวบรวมข้อมูล 1.79 4) การสรุปการคิด/อภิปรายการคิด/น าเสนอการคิด 1.80 5) การประเมินการคิด/การประยุกต์ใช้ 1.81 โดยหาค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายระหว่าง คะแนนรายข้อกับคะแนนรวมและน าแบบสอบถามแต่ละข้อที่ มีที่มีค่าอ านาจจ าแนกเข้าเกณฑ์

คือ ตั้งแต่ 0.02–1.00 และน ามาวิเคราะห์หาความเที่ยงตรงด้วย วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) เกณฑ์ที่ก าหนดคือตั้งแต่ 0.75 ขึ้นไป ค่าที่ได้แบ่งออกเป็นสภาพปัจจุบัน ค่าที่ได้คือ 0.79 และสภาพที่พึ่งประสงค์ค่าที่ได้คือ 0.83

3.2.6 ปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถาม

3.2.7 จัดพิมพ์แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์เพื่อด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้วิจัยด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามล าดับ ดังนี้

4.1 ผู้วิจัยขอหนังสือจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อน าไปส่งถึงผู้อ านวยการสถานศึกษาในการขอความอนุเคราะห์เก็บรวบรวมข้อมูลกับครูผู้สอนที่

เป็นกลุ่มตัวอย่าง

4.2 ผู้วิจัยน าส่งแบบสอบถามพร้อมหนังสือขอความอนุเคราะห์ในการตอบ แบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างโดยการส่งทางไปรษณีย์พร้อมซ่องติดแสตมป์ส่งกลับคืน

4.3 กลุ่มตัวอย่างส่งแบบสอบถามคืน โดยทางไปรษณีย์และติดตามโดยผู้วิจัย 5. การจัดกระท าและการวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วิจัยด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตามล าดับ ดังนี้

5.1 การจัดกระท าข้อมูล

5.1.1 ตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของแบบสอบถามที่ได้รับ กลับคืนมาจากกลุ่มตัวอย่างจากนั้นน ามาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าเร็จรูป ดังนี้

5.1.1.1 วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามในตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป เกี่ยวกับสถานภาพผู้ตอบแบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ และหาค่าร้อยละ แล้วน าเสนอเป็นตารางประกอบความเรียงท้ายตาราง

5.1.1.2 วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามในตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับ สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของ

121 ผู้เรียน ส าหรับสถานศึกษาสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวล าภู เขต 1 โดยหาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยก าหนด เกณฑ์การแปลความหมายค่าเฉลี่ย ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2553)

คะแนนเฉลี่ย 4.51–5.00 หมายถึง สภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึง ประสงค์ฯ อยู่ในระดับมากที่สุด

คะแนนเฉลี่ย 3.51–4.50 หมายถึง สภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึง ประสงค์ฯ อยู่ในระดับมาก

คะแนนเฉลี่ย 2.51–3.50 หมายถึง สภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึง ประสงค์ฯ อยู่ในระดับปานกลาง

คะแนนเฉลี่ย 1.51–2.50 หมายถึง สภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึง ประสงค์ฯ อยู่ในระดับน้อย

คะแนนเฉลี่ย 1.00–1.50 หมายถึง สภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึง ประสงค์ฯ อยู่ในระดับน้อยที่สุด

5.2 การวิเคราะห์ข้อมูล

ในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้

สถิติพื้นฐาน (Percentage) 1. ร้อยละ (Percentage) 2. ค่าเฉลี่ย (Mean)

3. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 5.3 สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพของเครื่องมือ

5.3.1 ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) โดยใช้สูตรของครอนบาค (Cronbach)

5.3.2 ค่าอ านาจจ าแนก

5.3.3 การหาค่าความตรงด้านเนื้อหา (Content Validity) ของแบบสอบถาม โดยใช้สูตรดัชนีความสอดคล้อง (Index of item Objective Congruence : IOC)

5.3.4 การวิเคราะห์และสังเคราะห์แนวคิดและหลักการในการร่างโปรแกรมฯ โดยน าข้อมูลผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การพัฒนาครูด้านการพัฒนาการคิด อย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียน มาหาค่าดัชนีความต้องการจ าเป็น (Priority Needs Index: PNI) เพื่อจัดล าดับความต้องการจ าเป็นโดยการค านวณสูตรดังต่อไปนี้

122 PNI(modified)=(I−D)D

เมื่อ PNI แทน ดัชนีล าดับความส าคัญของความต้องการจ าเป็น I แทน ค่าเฉลี่ยของสภาพปัจจุบัน

D แทน ค่าเฉลี่ยสภาพที่พึ่งประสงค์

ระยะที่ 2 พัฒนาโปรแกรมการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียน ส าหรับสถานศึกษาสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวล าภู เขต 1

1. ขั้นตอนการด าเนินงาน

1.1 ร่างโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของผู้เรียน ส าหรับสถานศึกษาสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวล าภู เขต 1 รายละเอียดการด าเนินงานดังต่อไปนี้

1.1.1 สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหลักการแนวคิดทฤษฎีและศึกษางานวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียน 1.1.2 น าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึ่งประสงค์ในด้านการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียน มาพิจารณาใช้เพื่อประกอบใน การยกร่างโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียน ส าหรับสถานศึกษาสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวล าภู เขต 1 และจัดท า ร่างโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียน ส าหรับสถานศึกษาสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวล าภู เขต 1

1.2 น าร่างโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมี

วิจารณญาณของผู้เรียน ส าหรับสถานศึกษาสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา หนองบัวล าภู เขต 1 มาตรวจสอบยืนยันโดยการอ้างอิง ผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 5 คน ใช้วิธีการ สนทนากลุ่ม (Focus Group)

1.2.1 กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการตรวจสอบยืนยันโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการ เรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียน ส าหรับสถานศึกษาสังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวล าภู เขต 1 ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 5 คน โดยการเลือกแบบ เจาะจง (Purposive Sampling) มีคุณสมบัติ ดังนี้

1) จบการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเอก ด้านจิตวิทยา และมีประสบการณ์ด้าน การจัดการเรียนการสอน ไม่น้อยกว่า 5 ปี จ านวน 1 คน