• Tidak ada hasil yang ditemukan

ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยสามารถสรุปได้ดังนี

1. จากการศึกษาพบว่าแรงงานมีฝีมือมีบทบาทสําคัญในการผลิต เพราะเป็นสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของทีระลึกส่วนใหญ่เป็นงานช่างและงานฝีมือ ซึงต้องการแรงงานฝีมือทีมี

ทักษะทางเชิงช่าง มีความคิดสร้างสรรค์และมีใจรักกับงาน ประกอบกับงานสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทของทีระลึกหลายชินเป็นสินค้าภูมิปัญญาทีทรงคุณค่า และนับวันจะมีผู้รู้ทีทําการผลิต น้อยลงทุกที จึงน่าทีจะมีการพัฒนาฝีมือแรงงานหรือฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพือเพิมบุคลากร

โดยเฉพาะอย่างยิงบุคลากรทางด้านการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาท้องถินทีดีงามของบรรพบุรุษไว้ให้คง อยู่ต่อไป ซึงในเรืองนีหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐ เป็นต้นว่า กรมการพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริม

อุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ สถาบันการศึกษา และหน่วยงานทีเกียวข้อง ตลอดจนองค์กร เอกชน และองค์กรพัฒนาต่าง ๆ ควรจัดให้มีการฝึกอบรมอาชีพทีมีอยู่ในท้องถินให้มากขึน โดยจัด ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น อบรมระยะสั น การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพทีชาวบ้านทําอยู่แล้ว การ ช่วยเหลือด้านเทคนิคใหม่ ๆ ช่วยเหลือด้านรูปแบบของผลิตภัณฑ์ การจัดการ ตลอดจนให้ความรู้

และข้อมูลทีทันสมัย ทําให้มีโลกทัศน์กว้างขวางขึน และแนวทางในการพัฒนาอาชีพของตน 2. ด้านค่าแรงงานของช่างฝีมือในกิจการ พบว่าค่าแรงงานฝีมือในกิจการค่อนข้างตํา ทํา ให้แรงงานขาดสิงกระตุ้นทีอยากจะทํางานเป็นลูกจ้างต่อไป จึงลาออกมาเปิดกิจการเป็นของตัวเอง โดยมีความพร้อมเพียงแค่ด้านฝีมือ โดยขาดความพร้อมในด้านอืน ๆ อีกหลายอย่าง เช่น เงินทุน กําลังคน ทักษะในการประกอบการ และช่องทางการตลาด จึงส่งผลให้การประกอบกิจการแระสบ กับปัญหาต่างๆ ผู้ประกอบการจึงควรจะกําหนดค่าแรงทีเหมาะสม กับแรงงานฝีมือทีทําการผลิต เพือสร้างแรงจูงใจ รวมทั งมีสวัสดิการทีเหมาะสม เนืองจากพบว่าพบว่าแรงงานทีอยู่ในกิจการส่วน ใหญ่เป็นเพศหญิง

3. การขาดเครือข่ายทีเข้มแข็งในกิจการสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของทีระลึก เนืองจากพบว่าผู้ประกอบการประสบกับปัญหาด้านเงินทุน วัตถุดิบ และการตลาด แม้ว่า

ผู้ประกอบการจะพยายามแก้ปัญหาด้วยตนเอง แต่ก็ยังแก้ปัญหาได้เพียงเบืองต้นเท่านั น จึงน่าทีจะมี

การสร้างเครือข่ายหรือกลุ่มทีเข้มแข็ง เพือเกิดความร่วมมือในการต่อรองด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ด้านวัตถุดิบ ซึงถ้ารวมกลุ่มกันซือวัตถุดิบจะทําให้ได้วัตถุดิบทีราคาถูกลง หรือรวมกลุ่มต่อรองด้าน เงินทุน และช่วยกันหาตลาด

4. ผู้ประกอบการควรทําการผลิตสินค้าทีมีรูปแบบสวยงาม แปลกใหม่ หลากหลาย ดึงดูด ใจลูกค้า เน้นคุณภาพของสินค้าให้มีความคงทน เหมาะแก่ประโยชน์ใช้สอย รวมทั งราคาของสินค้า ทีเหมาะสมกับคุณภาพ ไม่แพงจนเกินไป นอกจากนั นควรมีการประชาสัมพันธ์สินค้าให้ลูกค้ารู้จัก และเป็นการสร้างตราสินค้าให้ติดตลาด

5. ข้อควรคํานึงในด้านการผลิตและการตลาด

5.1 ของทีระลึกนั นจําเป็นหรือมีคนนิยมหรือไม่ ใช้ประโยชน์ได้หรือเปล่า 5.2 ของทีระลึกนั นผลิตขึนมาได้ง่ายหรือไม่ วัสดุทีจะนํามาประดิษฐ์นั นมีอยู่

พอเพียงและหาได้ง่ายประการใด

5.3 จะใช้วัสดุอะไร สีอะไร การชักเงาเคลือบผิวอย่างไร

5.4 การขนส่ง ทําได้ง่ายหรือเปล่า จะต้องจัดใส่หีบห่อหรือต้องระมัดระวังเป็น พิเศษประการใด

5.5 วัตถุดิบอะไร ชินส่วนมากน้อยเพียงไหน ต้องใช้เครืองไม้เครืองมืออะไร เรืองแรงงานเป็นอย่างไร ออกแบบแล้วผลิตขึนได้หรือไม่ จะผลิตให้ถูก มีคุณสมบัติและรวดเร็ว ขึนได้อย่างไร

5.6 จะซือวัสดุได้หรือไม่ ควบคุมคุณภาพได้อย่างไร จะใช้วัสดุอะไรแทนกันได้

บ้างและสามารถผลิตวันละเท่าไร่ เดือนหรือปีละเทาใด

5.7 ตลาดสินค้าของทีระลึกนั นๆ สําหรับคนไทยหรือชาวต่างประเทศ 5.8 ตลาดมีขอบเขตกว้างแค่ไหน เป็นตลาดท้องถิน ทัวประเทศ หรือตลาด ต่างประเทศ

5.9 จะนําสินค้าออกสู่ตลาดโดยวิธีใด

5.10 ลูกค้าชอบและไม่ชอบอะไร เช่น สี วัสดุ รูปร่าง ฯลฯ ลูกค้าต้องการ อะไร จําเป็นต้องใช้อะไร มีความสามารถซือได้หรือไม่

5.11 ของทีระลึกประเภทเดียวกันนีมีผู้ผลิตแข่งขันรายอืนหรือไม่ มีอยู่แพร่หลาย เพียงไร ราคาเป็นอย่างไร คุณภาพเป็นอย่างไร และรูปร่างเป็นอย่างไร

6. แนวทางการออกแบบผลิตภัณฑ์ของทีระลึกชุมชน

6.1 เป็นสินค้าทีเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิน เมือมีผู้กล่าวถึงของทีระลึกประเภทนี

แล้วทุกคนต้องรู้จักแหล่งทีมาของสิงนั นได้ ซึงถือว่าเป็นเอกลักษณ์ทีเกิดมาจากประวัติความเป็นมา ของท้องถินนั นๆ

6.2 เป็นสินค้าหายาก ของทีระลึกประเภทนีมักจะเป็นสิงของทีนักท่องเทียวซือ และเป็นสิงทีเป็นของแท้ และราคาถูกกว่าทีอืน

6.3 ราคาถูก เมือนําไปเทียบกับสิงของประเภทเดียวกัน ทีวางจําหน่ายตามแหล่ง ท่องเทียวต่าง ๆ ซึงอาจเป็นสิงของเครืองใช้ ทัวไป เช่นเสือผ้า เครืองประดับ เครืองหนัง เป็นต้น

6.4 มีความดึงดูดใจจากการออกแบบ ลวดลาย ความประณีต สีสัน ความน่าสนใจ ความมีประโยชน์ใช้สอย เช่น ตุ๊กตา สมุนไพร เป็นต้น

6.5 หาได้ง่าย สะดวก มีวางขายตามจุดต่าง ๆ อย่างเหมาะสม

6.6 ขนาด รูปร่าง และนํ าหนักทีไม่เป็นอุปสรรคต่อการขนส่ง สินค้าของทีระลึกที

มีจุดอ่อน จะต้องหาทางแก้ไข เช่น มีบรรจุภัณฑ์ทีมีประสิทธิภาพ หรืออกแบบให้สามารถแยกชิน ได้ เพือนําไปประกอบใหม่ในภายหลัง เป็นต้น

6.7 ใช้แรงงานในท้องถิน โดยการแปรรูปสินค้าของทีระลึก ให้เกิดมูลค่าเพิมโดย ใช้แรงงานในท้องถินนั นๆ

6.8 มีการแสดงขั นตอนการผลิต เพือให้ผู้บริโภคมีโอกาสทดลองทํา เพือทีจะสร้าง ความประทับใจให้เห็นคุณค่าของสินค้านั น เช่นการทอผ้า การวาดลายร่ม เป็นต้น

6.9 มีฉลากบอกส่วนประกอบหรือส่วนผสม บอกทีมาของสินค้านั นว่าทํามาจาก อะไร วิธีการใช้ การดูแลรักษา และมีข้อควรระวังอย่างไร เหล่านีเป็นต้น

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. 2006. แนวคิดนักออกแบบงานบรรจุภัณฑ์เพือลดต้นทุนการผลิต.

Dept. of Industrial Promotion (Th / Eng)

กระทรวงอุตสาหกรรม. มปป. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน.

พจนานุกรม ฉบับเฉลิมพระเกียรติ พุทธศักราช 2530.

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. http://rirs3.royin.go.th/new-search/word- search-all-x.asp.

วิรุณ ตั งเจริญ,2526. การออกแบบ.กรุงเทพฯ.วิฌวลอาร์ต.

วิบูล จันทณ์แย้ม.2544.พฤติกรรมการเลือกซือสินค้าทีระลึกของประชาชนทีมาเทียว จังหวัดลพบุรี. รายงานการวิจัย. สถาบันราชภัฎเทพสตรี.

ชะลูด นิมเสมอ,2531.องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ. ไทยวัฒนาพานิช.

เสรี วงษ์มณฑา.2542. การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ.ธีระฟิล์มและโซเทกซ์.

สุชาติ เถาทอง, 2536. หลักการทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ.อักษรกราฟิก.

ประเสริฐ ศิลรัตนา,2531. ของทีระลึก. โอ.เอส. พรินต์ติง เฮ้าส์.

ประชิต ทินบุตร. 2531. การออกแบบบรรจุภัณฑ์.กรุงเทพฯ.โอเดียนสโตร์.

,2550. การออกแบบของทีระลึก. Art Chandra UBI Club:ชุมนุมบ่มเพาะวิสาหกิจ ศิลปะและการออกแบบ อาร์ตจันทรา.

นวลน้อย บุญวงษ์, 2542. หลักการออกแบบ. พิมพ์ครั งที 2.กรุงเทพฯ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ชยาภรณ์ ชืนรุ่งโรจน์,2537. ปกิณกะบทความวิชาการด้านการท่องเทียว. เล่ม 2 .เชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. ทัศนศิลป์และการออกแบบ. http://th.wikipedia.org/wiki.

หลักการออกแบบ. http://www.eschool.su.ac.th/school12/M4_2546/4-6/6-002/title-5.htm Brands’ Tip : Thaibrand Marketing.ออกแบบโลโก้อย่างไรให้โดนใจ. ปีที 2 ฉบับที 2 กันยายน 2550.

ศิลปะพืนบ้าน.http://www.singarea.moe.go.th/cwm/singburi%20tourist%

20place/link07.htm.

http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp.

ชือ – นามสกุล

(ภาษาไทย) นายจง บุญประชา (ภาษอังกฤษ) Mr. Jong Boonpracha

เพศ ชาย วันเดือนปีเกิด 14 พฤษภาคม 2507

ตําแหน่งปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์

สถานทีติดต่อ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

โทรศัพท์/โทรสาร 085-8344-659 E-mail-address jboonpracha@yahoo.com ทีอยู่ 101/9 ถนนรางนํ า เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท์/โทรสาร 02-243-2738

ประวัติการศึกษา

ระดับ สาขา สถาบัน

ปริญญาตรี ศิลปะอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า

เจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง

ปริญญาโท สถาปัตยกรรมภายใน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า

เจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง

ผลงานวิจัย ก. ผลงานวิจัยทีเคยตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ

ข. ผลงานวิจัยทีสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้

การออกแบบห้องเรียนชั นประถมปีที 1-6 สําหรับผู้สายตาเลือนราง

การออกแบบอุปกรณ์จัดเก็บเอกสารผลงานทางสถาปัตยกรรม สําหรับสํานักงานสถาปนิก การออกแบบทีช่วยพยุงเดินสําหรับผู้สูงอายุ

Dokumen terkait