• Tidak ada hasil yang ditemukan

แนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของที่ระลึก

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "แนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของที่ระลึก"

Copied!
58
0
0

Teks penuh

(1)

รายงานการวิจัย เรือง

แนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของทีระลึก

โดย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์จง บุญประชา

ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ปีงบประมาณ 2553

(2)

รายงานการวิจัย

เรือง

แนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของทีระลึก

โดย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์จง บุญประชา

ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ปีงบประมาณ 2553

(3)

กิตติกรรมประกาศ

การวิจัยเรืองแนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของทีระลึก สําเร็จ ลงได้ด้วยความช่วยเหลือของบุคคล คณะนิติบุคคล หน่วยงานของรัฐ ทีร่วมมือและให้ข้อมูลอัน เป็นประโยชน์ต่องานวิจัยในครั งนีเป็นอย่างยิง ข้าพเจ้าในฐานะผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณและ ขอบคุณทุกท่านทีมีส่วนเกียวข้องช่วยให้งานดังกล่าวสําเร็จลงด้วยดี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์จง บุญประชา ผู้วิจัย

11 กันยายน 2553

(4)

สารบัญ

หน้า

กิตติกรรมประกาศ (1)

บทคัดย่อภาษาไทย (2)

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ (3)

สารบัญ (4)

สารบัญภาพ (6)

สารบัญตาราง (7)

บทที 1 บทนํา 1

ความสําคัญและทีมาของปัญหา 1

วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย 2

ขอบเขตของโครงการวิจัย 2

แนวคิด ทฤษฎีทีเกียวข้อง 3

วิธีการดําเนินการวิจัย 4

เครืองมือทีใช้ในการวิจัย 5

ผลทีคาดว่าจะได้รับเมือดําเนินงานเสร็จสิน 5

บทที 2 เอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้อง 7

ประเภทของของทีระลึก 7

วัสดุและรูปแบบของทีระลึกในท้องถิน 10

การเพิมมูลค่าสินค้าด้วย การออกแบบ 12

บทที 3 วิธีการดําเนินการวิจัย 20

การเก็บรวบรวมข้อมูล 20

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 20

เครืองมือทีใช้ในการวิจัย 20

การวิเคราะห์ข้อมูล 21

(5)

บทที 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 23

รูปแบบผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของทีระลึก 23

พฤติกรรมของผู้ซือสินค้าทีระลึก 36

จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ของสินค้าของทีระลึก 40

บทที 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ 43

สรุปผลการวิจัย 43

อภิปรายผลการวิจัย 45

ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย 47

บรรณานุกรม 50

ประวัติผู้วิจัย 51

(6)

การวิจัยเรือง แนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของทีระลึก

ชือผู้วิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จง บุญประชา

หน่วยงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ปีทีวิจัย 2553

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั งนีมีวัตถุประสงค์ 1) เพือเสนอแนะแนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์

ชุมชนประเภทของทีระลึก เพือเพิมมูลค่าผลิตภัณฑ์และส่งเสริมการขาย 2) เพือพัฒนาและปรับปรุง กระบวนการคิด การออกแบบและการผลิต ผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของทีระลึก เพือเพิมขีดความสามารถ และศักยภาพในการแข่งขันทางการตลาดของชุมชนท้องถิน

ผลการวิจัยพบว่า

จุดแข็งของผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของทีระลึก คือ 1. มีรูปแบบสินค้าทีสวยงาม

2. การผลิตมีคุณภาพดี

3. ราคาไม่แพงเหมาะสมกับคุณภาพ

จุดอ่อนของผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของทีระลึก คือ

1. รูปแบบสินค้าซํ า ๆ ไม่มีความแปลกใหม่ในตัวผลิตภัณฑ์

2. วัสดุทีใช้คุณภาพไม่ค่อยดี ไม่คงทน เสียหายง่าย 3. ราคาแพง เมือเทียบกับสินค้าประเภทอืน โอกาสในการพัฒนาสินค้าของทีระลึก คือ 1. รูปแบบสินค้า ความแปลกใหม่ ทันสมัย 2. ความสวยงามของสินค้า

3. การประชาสัมพันธ์ทีดี

อุปสรรคในการพัฒนาสินค้าทีระลึก คึอ

1. คุณภาพสินค้าไม่ได้มาตรฐาน ไม่มีความคงทน เสียหายง่าย 2. รุปแบบของสินค้า ไม่มีความหลากหลาย สินค้ารูปแบบซํ ากัน 3. สภาพเศรษฐกิจและการเมืองในปัจจุบัน

(7)

Researcher Assistant Professor Jong Boonpracha

Institution Suan Sunandha Rajabhat University

Year 2010

Abstract

The purposes of this research were to 1) to guideline the design and development of local souvenir product to add value and promote the products 2) to develop and adapt the thinking process in designing and producing local souvenir product to increase capacity and potential in market competition

Finding indicate that

Strengths of local souvenir product is 1. aesthetic in products

2. good quality in production

3. compromise between prices and quality Weaknesses of local souvenir product is 1. repetitive design in products 2. inconsistency quality of material

3. expensive if comparing with other products Opportunities of local souvenir product is 1. update and creative in design

2. product aesthetic 3. good public relation Threats of local souvenir product

1. Lower standard and easy to breakage 2. lack of diversity in products

3. current economic and politic

(8)

สารบัญภาพ

ภาพที หน้า

4.1 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึก หัวโขนจําลองย่อส่วน 23

4.2 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึก เพือการบูชา 24

4.3 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึก เพือการบูชา 24

4.4 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึก เครืองแก้ว 25

4.5 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึกจากวัสดุธรรมชาติ 25

4.6 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึกตกแต่งร่างกาย 26

4.7 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึกจากเศษเหล็ก 26

4.8 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึกจากวัสดุโลหะ 27

4.9 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึกเซรามิกส์ 27

4.10 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึกจากกะลามะพร้าว 28

4.11 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึกจากกะลามะพร้าว 28

4.12 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึกของประดับตกแต่ง 29

4.13 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึกประเภทของบริโภค 29

4.14 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึกประเภทของบริโภค 30

4.15 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึกประเภทของตกแต่ง 30

4.16 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึกประเภทของตกแต่งวัสดุธรรมชาติ 31 4.17 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึกประเภทของตกแต่งวัสดุไม้ 32 4.18 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึกประเภทของตกแต่งโคมไฟ 32

4.19 แสดงผลิตภัณฑ์ของทีระลึกประเภทของตกแต่ง 33

(9)

สารบัญตาราง

ตารางที หน้า

4.1 ข้อมูลทัวไปของผู้ซือสินค้าทีระลึก 34

4.2 พฤติกรรมของผู้ซือสินค้าทีระลึก 36

4.3 แสดงความสําคัญของปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อการ

ตัดสินใจเลือกซือสินค้าของทีระลึก 39

4.4 แสดงอันดับจุดแข็งของสินค้าทีระลึก 40

4.5 แสดงอันดับจุดอ่อนของสินค้าทีระลึก 41

4.6 แสดงโอกาสในการพัฒนาสินค้าของทีระลึก 41

4.7 แสดงอุปสรรคในการพัฒนาสินค้าทีระลึก 42

(10)

บทนํา

ความสําคัญและทีมาของปัญหา

OTOP หรือ“หนึงตําบล หนึงผลิตภัณฑ์” เป็นแนวคิดทีต้องการให้แต่ละหมู่บ้านมี

ผลิตภัณฑ์หลักเป็นของตัวเอง เป็นผลิตภัณฑ์ทีใช้วัตถุดิบหรือทรัพยากร และภูมิปัญญาท้องถินมา ทําการพัฒนาจนกลายเป็นสินค้าทีสามารถสร้างรายได้แก่ชุมชน การกระตุ้นเศรษฐกิจระดับราก หญ้า โดยผลักดันโครงการหนึงตําบลหนึงผลิตภัณฑ์ (OTOP) เพือให้ชุมชนคิดค้นสินค้าจากท้องถิน ทีมีเอกลักษณ์ สามารถ พัฒนาคุณภาพตรงใจตลาดและเพิมมูลค่าให้กับสินค้าจนสามารถนําส่ง ออกไปขายยัง ต่างประเทศได้ มีหน่วยงานของรัฐเข้ามาสนับสนุน ในเรืองวิชาการ เทคโนโลยี

ช่องทางการตลาด และขยายโอกาสให้ชุมชนเข้าถึงแหล่งทุน เป้าหมายทีวางไว้คือ ชุมชนต้อง ปรับเปลียนตนเอง ยกระดับจากฐานะผู้ผลิตสินค้าขึนมาเหมือนเป็นบริษัทย่อยๆ ครบวงจรทั งการ บริหารจัดการ ดูแลระบบการเงินและระบบบัญชี ควบคุมการผลิตให้ได้มาตรฐาน ออกแบบบรรจุ

ภัณฑ์ให้มีความทันสมัย มีความคล่องตัวในการติดต่อตลาด ได้ด้วยตัวเอง ทําให้รายได้จากการขาย สินค้า หมุนเวียนอยู่ในชุมชน เศรษฐกิจของชุมชนเข้มแข็ง สมาชิกในชุมชนพึงตนเองได้

จากการรายงานของหนังสือพิมพ์ประชาชาติ ฉบับวันที 20 ธันวาคม 2548 ตัวเลขยอด จําหน่ายสินค้าเพิมขึนอย่างต่อเนือง จากปี 2545 เท่ากับ 16,700 ล้านบาท ขยับสูงขึนมาเป็น 33,200 ล้านบาท ในปี 2546 และก้าวขึนมาเกือบ 50,000 ล้านบาท ในปี 2547 และคาดการณ์ว่าในปี 2548 จะมียอดจําหน่ายทะลุ 1 แสนล้านบาทหรือเพิมขึน 1 เท่าตัว ความพยายามทีจะดันยอดจําหน่าย สินค้า ให้ถึงตามเป้าหมายทีวางไว้ นอกเหนือจากจัดการแสดงสินค้าทีผ่านคัดเลือก ในศูนย์กลาง แสดงสินค้า เมืองทองธานี เพือจัดแสดงสินค้าจํานวนกว่า 5,000 รายการ จากผู้สนใจเข้าร่วมงานถึง 37,754 ราย

เงือนไข ของความจริงทีเกิดขึน สินค้าทีจัดแสดงในงานมีสัดส่วนของจํานวนของ

ผู้ประกอบการ SME และผู้ประกอบอิสระเป็นส่วนใหญ่ สินค้าทีมาจากชุมชนทีแท้จริงมีสัดส่วนที

น้อยมาก สินค้าจากชุมชนไม่สามารถสู้กับคุณภาพสินค้าทีเป็นของกลุ่ม SME ได้ พบว่าสินค้าชุมชน มีข้อจํากัดทียังไม่สามารถพัฒนาสินค้าสินค้าให้ตรงกับความ ต้องการของลูกค้า ซึงเป็นกลุ่มทีมี

อํานาจการซือทั งในเมืองและต่างชาติ และชุมชนยังขาดความสามารถในการบริหารจัดการ ไม่ผ่าน มาตรฐานสินค้าทีโครงการตั งตามขั นของระดับดาว จากข้อจํากัดดังกล่าว ตัวเลขของการเติบโตของ การจําหน่ายสินค้าจึงตกอยู่ในกลุ่ม SME เป็นส่วนใหญ่ทีมีศักยภาพในการพัฒนาเท่าทันตลาด มากกว่า

(11)

สมหญิง พงศ์พิมลได้กล่าวว่าผลิตภัณฑ์ ชุมชนทีเคยสร้างรายได้จากการส่งเสริมของภาครัฐ กําลังถึงวิกฤตเมือเกิดการแข่งขันกันเองโดยการผลิตสินค้ารูปแบบเดิมๆออกจน ล้นตลาดและไม่

สามารถปรับราคาทีเหมาะสมกับต้นทุนได้ ขณะทีคนกลางใช้ฝีมือชาวบ้านไปต่อยอดสร้างกําไร หนทางรอดคือการใช้วิชาการด้านการออกแบบช่วยเสริมคุณค่าของงาน ชาวบ้านผู้ผลิตส่วนหนึงได้

ผลิตสินค้าโดยมีคน กลางเป็นผู้กําหนด ก็จะทําสินค้าเดิมๆซํ าๆไปตามทีสังมา โดยไม่ได้มีการ พัฒนาผลงานของตนสินค้าทีส่งได้ราคาตํา ขณะทีคนกลางส่วนหนึงนําสินค้าเดิมของชาวบ้านไป ปรับเปลียนพัฒนารูปแบบใหม่ๆ เป็น

แบรนด์ของตน เป็นทีถูกใจของตลาด ทีทําให้มีมูลค่าทีสูงขึนกว่าหลายเท่า ทั งทีงานส่วนใหญ่เป็น ฝีมือของชาวบ้านแต่เพียงเขาขาดข้อมูลและผู้ทีจะเข้า ไปส่งเสริมในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์

ของตน

ธนสิทธิ จันทะรี ได้ให้ความเห็นเพิมเติมว่า การทีนักวิชาการเข้ามาเสริมฐานการผลิตของชุมชนจะ เป็นการสร้างทางเลือกเพราะ เราเองก็จะเข้าใจในหลักการออกแบบว่าไม่ควรยําอยู่กับที และ สามารถใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ความต้องการของผู้บริโภคได้ แต่ชาวบ้านจะเป็นผู้ผลิต การ เปลียนแปลงอาจเป็นเรืองยากของชุมชนแต่หากเราคอยให้คําปรึกษาประคับ ประคองก็จะเกิดความ เชือมัน สินค้าทีผลิตออกมาก็จะขายได้และมีมูลค่าราคาทีดีขึน

วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย

1. เพือเสนอแนะแนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของทีระลึก เพือ เพิมมูลค่าผลิตภัณฑ์และส่งเสริมการขาย

2. เพือพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการคิด การออกแบบและการผลิต ผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทของทีระลึก เพือเพิมขีดความสามารถและศักยภาพในการแข่งขันทางการตลาดของชุมชน ท้องถิน

ขอบเขตของโครงการวิจัย

ในการวิจัยครั งนีมีขอบเขตของการศึกษาวิจัยดังต่อไปนี

1 การศึกษาวิจัยเพือใช้เป็นแนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของ ทีระลึก

2. เป็นทีระลึกทีผลิตจากวิสาหกิจชุมชนหรือวิสาหกิจขนาดกลางหรือขนาดย่อม โดยเน้น ของทีระลึกทีมีรูปแบบทีสะท้อนถึงวิถีชีวิตหรือวัฒนธรรมไทยหรือภูมิปัญญาไทย

3. วัสดุทีใช้ทําผลิตภัณฑ์ของทีระลึกจะเป็นวัสดุทีมาจากวัสดุพืนถินหรือวัสดุทีผลิต ภายในประเทศไทยเป็นหลักในกระบวนการผลิต

(12)

ผลทีคาดว่าจะได้รับเมือดําเนินงานเสร็จสิน

ก. ผลสําเร็จของโครงการวิจัย

1. ได้ต้นแบบทีสามารถใช้เป็นแนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของ ทีระลึกทีมีมูลค่าเพิมและสามารถส่งเสริมการขาย ตลอดจนจุดเด่นทีแตกต่างในการทําการตลาด เพือการ แก้ปัญหาเศรษฐกิจชุมชนในปัจจุบัน และสร้างความเข้มแข็งด้านเศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถิน

2. เป็นการต่อยอดภูมิปัญญาชุมชนในการออกแบบผลิตภัณฑ์ทีระลึกด้วยการเสริมความหมาย ในทางบวก

3. เป็นแนวทางของรูปแบบเพือนําไปประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ใกล้เคียงในชุมชนแวดล้อม ทําให้เกิดการถ่ายโอนด้านความคิดเชิงสร้างสรรค์ในการออกแบบ ทีเป็นแนวคิดแบบบูรณาการที

นําไปสู่การใช้งานได้จริงในชุมชนท้องถิน ข. ความคุ้มค่าของโครงการวิจัย

1. โครงการนีทําให้เกิดความร่วมมือระหว่างภาคอุดมศึกษาและชุมชนท้องถินอย่างเป็น รูปธรรม

2. มีผลต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจระดับรากหญ้า เป็นการผลักดันโครงการหนึงตําบลหนึง ผลิตภัณฑ์ (OTOP) เพือให้ชุมชนคิดค้นสินค้าจากท้องถิน ทีมีเอกลักษณ์ สามารถ พัฒนาคุณภาพ ตรงกับความต้องการทางการตลาดและการเพิมมูลค่า

3. ความคุ้มค่าในด้านการกระจายความรู้และถ่ายทอดความรู้ให้หน่วยงานท้องถินและ ชุมชน ได้มีศักยภาพในการผลิตและสามารถพึงพาตนเองได้แบบยั งยืน ตามแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง

4 ผลการศึกษาทีได้สามารถนําไปประยุกต์ ปรับปรุงเพือพัฒนาเนือหาหลักสูตรการเรียน การสอน ทําให้บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษามีความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการพัฒนาสร้างความ เข้มแข็งและความเป็นเลิศทางวิชาการ จากกระบวนการวิจัยทีสอดคล้องกับศักยภาพชุมชนท้องถิน

(13)

บทที 2

เอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้อง

ความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ของทีระลึก ไม่ได้มีหลักฐานแน่ชัดว่าเกิดขึนเมือใด แต่น่าจะเกิดจาก ลักษณะนิสัยและพฤติกรรมของผู้คนทีมีการเดินทางท่องเทียวพบปะสังสรรค์ รวมทั งความต้องการทีจะ ยํ าเตือนความทรงจําและการระลึกนึกถึงสิงทีได้พบเห็น และได้ไปเยียมเยือนมา ส่วนความหมายของที

ระลึกมีคําจัดความต่าง ๆ ดังนี

ของทีระลึก (Souvenir) หมายถึง สิงต่างๆทีเก็บรักษาไว้หรือใช้เป็นเครืองเตือนความจําเกียวกับ เรืองราวหรือเหตุการณ์หรือเหตุการณ์ต่างๆ

ของทีระลึก หมายถึง สิงต่างๆ ทีนํามาใช้เป็นตัวจูงใจ ให้เกิดการคิดถึงหรือนึกถึงเรืองราวทีได้

เกียวข้อง

ของทีระลึก หมายถึง สิงทีใช้เป็นสือเพือหวังผลทางด้านความทรงจํา ให้สิงทีผ่านมาในอดีต กลับกระจ่างขึนในปัจจุบัน

ของทีระลึก หมายถึง สัญลักษณ์แทนบุคคล เรืองราว ฯลฯ ทีได้รับการออกแบบสร้างสรรค์ขึน เพือกระตุ้นหรือเน้นยํ าความทรงจําให้คิดถึงหรือนึกถึงอยู่เสนอในบุคคล เหตุการณ์หรือเรืองราว ฯลฯ นั น

ของทีระลึกนีมีชือเรียกแตกต่างออกไปอีกตามโอกาสอีก เช่น "ของชําร่วย" หมายถึง ของตอบ แทนผู้มาช่วยงาน เช่น งานแต่งงาน งานศพ "ของกํานัล" หมายถึง สิงของทีนําไปให้แก่ผู้ทีรักและนับถือ และ "ของขวัญ" หมายถึง สิงของทีให้กันเพืออัธยาศัยไมตรี

ประเภทของของทีระลึก

ของทีระลึกซึงทําออกมาในรูแบบต่างๆ เช่น ของบริโภค ของใช้ เครืองประดับ ฯลฯ มีความ เกียวข้องกับวัสดุ เทคนิควิธีทํา จุดมุ่งหมายในการผลิตและการนําไปใช้ ตลอดจนอิทธิพลอืนๆ เช่น

(14)

ความเชือ ศาสนา การเมือง วัฒนธรรม เศรษฐกิจและสังคม ทําให้ของทีระลึกมีรูปแบบทีแตกต่างกัน ออกไป การจัดประเภทของทีระลึกสามารถจัดได้โดยยึดหลักต่อไปนี

1. การจัดประเภทตามรูปแบบของทีระลึก

การจัดประเภทของทีระลึกสามารถจัดตามรูปแบบทีปรากฏได้ดังนี

1) ของทีระลึกทีผลิตขึนตามแบบประเพณีนิยม คือ ของทีระลึกทีผลิตขึนโดยสืบทอดรูปแบบ ต่อกันมาจากบรรพบุรุษ โดยในอดีตนั นสร้างขึนเพือประโยชน์ใช้สอยเป็นหลัก เมือสภาวะความเป็นอยู่

เปลียนแปลง จุดมุ่งหมายของการใช้สิงนั น จึงอาจเปลียนแปลงไปเป็นของทีระลึกแก่นักท่องเทียวได้

เช่น ผลิตภัณฑ์พืนบ้านต่างๆ เป็นต้น

2) ของทีระลึกทีผลิตขึนตามแบบสมัยนิยม เป็นของทีระลึกทีผลิตขึนตามความนิยมในสิงใด สิงหนึงหรือเรืองราวใดเรืองราวหนึงในชัวระยะเวลาหนึง จากนั นก็เสือมความนิยมไปพร้อมกับรูปแบบ ใหม่เข้ามาแทนที

2. การจัดประเภทตามวัสดุทีใช้ผลิต

การจัดแบ่งของทีระลึกตามวัสดุทีใช้ผลิตสามารถแบ่งได้ 3 ประเภท ซึงอาจจะผลิตโดยใช้วัสดุ

ประเภทใดประเภทหนึงหรือใช้ผสมกัน รายละเอียดมีดังนี

1) ของทีระลึกทีผลิตจากวัสดุธรรมชาติ เป็นของทีระลึกทีนําเอาวัสดุธรรมชาติมาเสริม เติม แต่ง ประกอบต่อ ดัดแปลง เป็นเครืองใช้ไม้สอย เครืองประดับหรือวัตถุทางศิลปะซึงบางอย่างยังคง รูปแบบตารมต้นแบบของธรรมชาติเดิมหรือต่อเติมบ้าง เช่น ของทีระลึกทีผลิตจากเปลือกหอย ดอกไม้

แห้ง นํ าเต้าและกะลามะพร้าว เป็นต้น นอกจากนียังนําเอาวัสดุธรรมชาติมาสร้างสรรค์เป็นของทีระลึก รูปแบบใหม่ขึน

2) ของทีระลึกทีผลิตจากวัสดุสังเคราะห์ เป็นการนําเอาวัสดุสังเคราะห์มาใช้ในการผลิตของที

ระลึก ซึงคุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุแต่ละชนิดนั นมีความแตกต่างกัน เช่น แก้วมีความใสเป็น ประกายทองมีความสุกปลัง พลาสติกมีสีสันสวยสด เป็นต้น จากคุณสมบัติของวัสดุและกรรมวิธีในการ

(15)

ผลิตทีแตกต่างกันจึงทําให้เกิดของทีระลึกรูปแบบต่างๆ มากมาย เช่น เครืองแก้ว เครืองทอง ผลิตภัณฑ์

โลหะและผลิตภัณฑ์พลาสติก เป็นต้น

3) ของทีระลึกทีผลิตจากเศษวัสดุ เป็นการนําวัสดุธรรมชาติหรือวัสดุสังเคราะห์ทีเหลือใช้แล้ว มาประดิษฐ์เป็นสิงของต่างๆ ซึงส่วนมากมักจะใช้เป็นของทีระลึกเพือประโยชน์ในทางประดับตกแต่ง 3. การจัดประเภทตามประโยชน์ใช้สอย

การจัดแบ่งของทีระลึกตามประโยชน์ใช้สอยนีจัดแบ่งตามจุดประสงค์ของการนําไปใช้ว่าใช้ในลักษณะ ใด แบ่งได้ 3 ประเภท คือ

1) ของทีระลึกประเภทของบริโภค หมายถึง ของทีระลึกประเภทอาหาร แต่เดิมนั นคงเป็นเพียง การแบ่งปันอาหารกันในลักษณะทีคงเป็นธรรมชาติอยู่เช่น ผลไม้ เนือสัตว์ เป็นต้น ปัจจุบันมีการปรุง แต่งอาหารทั งในด้านรูปแบบและรสชาติ รวมถึงการจัดใส่ภาชนะและหีบห่อทีสวยงามเป็นทีต้องการ ของผู้บริโภค ฉะนั นอาหารไม่เป็นเพียงใช้บริโภคโดยตรง หากยังใช้แลกเปลียนซือขายหรือมอบให้แก่

กันในโอกาสต่างๆอีกด้วย เช่น ขนมลูกชุบ ขนมเทียนเสวย ขิงดอง กระเทียมดอง เป็นต้น ด้วยเหตุที

อาหารเป็นสิงทีไม่สามารถเก็บไว้ได้นาน อาหารจึงมักไม่ค่อยได้รับการยอมรับว่าเป็นของทีระลึก เหมือนกับวัตถุอย่างอืน

2) ของทีระลึกประเภทของอุปโภค ได้แก่ ของทีระลึกประเภทเครืองใช้ต่างๆ เป็นสิงทีผลิตขึน เพือตอบสนองต่อความต้องการทางด้านร่างกายเป็นส่วนใหญ่ ของทีระลึกประเภทนี ได้แก่ ผลิตภัณฑ์

พืนบ้านต่างๆ โคมไฟ เชิงเทียน ตะเกียง เป็นต้น

3) ของทีระลึกประเภทของตกแต่ง เป็นของทีระลึกทีผลิตขึนเพือตอบสนองต่อความต้องการ ทางด้านจิตใจ ได้แก่ เครืองประดับร่างกายและอาคารสถานทีต่างๆ เป็นต้

4. การจัดประเภทตามจุดประสงค์ของผลิต

ของทีระลึกอาจแบ่งได้ตามจุดประสงค์เฉพาะในการผลิต เช่น ผลิตขึนเพือระลึกถึง บุคคล งาน เหตุการณ์และสถานทีต่างๆ ดังนี

(16)

1) ของทีระลึกทีผลิตขึนเฉพาะบุคคล ได้แก่ ของทีระลึกทีจัดทําขึนเพือเป็นเกียรติแก่บุคคลใด บุคคลหนึงหรือเพือจําหน่ายจ่ายแจกให้กับบุคคลอืน เพือเตือนใจให้ระลึกถึงบุคคลนั น รูปแบบของที

ระลึกประเภทนี ได้แก่ รูป โล่ เหรียญ ถ้วย ธง ฯลฯ

2) ของทีระลึกผลิตขึนเฉพาะงาน เป็นการผลิตขึนเพือแจก แลก ซือขายเฉพาะงานใดงานหนึง เช่น งานแสดงสินค้า งานแต่งงาน งานศพ งานฉลองมงคลสมรส งานศิษย์เก่า ฯลฯ

3) ของทีระลึกทีผลิตขึนเฉพาะเหตุการณ์ หมายถึง ของทีระลึกทีผลิตขึนเพือระลึกถึง เหตุการณ์ต่างๆ อาจเป็นเหตุการณ์ทีดี ทีร้ายแรง หรือเป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ของทีระลึก ประเภทนีอาจผลิตในรูปของวัตถุ รูปจําลอง สัญลักษณ์แทน ฯลฯ

4) ของทีระลึกทีผลิตขึนเฉพาะที หมายถึงของทีระลึกทีผลิตขึนเพือระลึกถึงสถานทีใดสถานที

หนึง อาจแสดงให้เห็นรูปแบบเฉพาะของท้องถินโดยใช้วัสดุและเทคนิควิธีทีสืบทอดกันมาในท้องถิน นั นหรือนําเอารูปแบบของสิงใดสิงหนึง รูปแบบของบุคคลหนึงหรือเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึงทีมี

เฉพาะในท้องถินนั น เมือนําเอารูปแบบนั นมาผลิตเป็นของทีระลึกก็จะช่วยให้ระลึกถึงสถานทีแห่งนั น ได้

วัสดุและรูปแบบของทีระลึกในท้องถิน

วัสดุทีใช้ในการผลิตของทีระลึกในท้องถินจากการสํารวจในจังหวัดลําปาง ลําพูน และ เชียงใหม่ พบว่ามีหลายประเภท ทีสําคัญมีดังนี

1. ไม้ เป็นวัสดุทีใช้ในการผลิตสินค้าของทีระลึกทีนิยมแพร่หลาย ไม้ทีนํามาแกะสลักกัน ได้แก่ ไม้สัก ไม้ชิงชัน ไม้โมกมัน ไม้ฉําฉา ฯลฯ ปัจจุบันใช้ไม้ฉําฉาเป็นส่วนใหญ่เพราะเป็นไม้

เนืออ่อน ง่ายต่อการแกะสลัก และราคาถูกกว่าแต่ลายไม้ไม่สวยเหมือนไม้ชนิดอืน งานแกะสลักมี

รูปลักษณะต่างๆ มากมาย เช่น เครืองเรือน ภาพแกะสลัก กรอบรูป ภาชนะ รูปสัตว์ รูปคน รูป

ดอกไม้ ฯลฯ ส่วนไม้ชนิดอืนนอกเหนือจากไม้ทีใช้แกะสลักแล้วทีนิยมนํามาประดิษฐ์เป็นของทีระลึก เช่นกัน ได้แก่ ไม้ไผ่ ซึงอาจนํามาใช้ในรูปแบบต่างๆ เช่น การประกอบแขนงไม้ไผ่เป็นอาคาร

เล็กๆ โมบาย การทําเครืองเขิน ฯลฯ แต่ทีทํากันแพร่หลายมากคือ เครืองจักสาน ได้แก่ เป็นรูป

(17)

เครืองใช้ในบ้าน เช่น พัด กระบุง กระจาด กระติบ เข่ง ฯลฯ เครืองมือต่างๆ เช่น

ลอบ ไซ ข้อง ส่วนทีเป็นของเบ็ดเตล็ดทัวไป ได้แก่ กระเป๋าถือ หมวก ของเล่น ของประดับ เป็น ต้น ส่วนไม้ชนิดอืนทีนํามาใช้ในการจักสารได้แก่ แหย่ง หวาย เป็นต้น

2. ผักตบชวา เป็นพืชนํ าขึนอยู่ตามแม่นํ าลําคลองและห้วยหนองคลองบึงทัวไป เป็นพืชทีมี

ความเจริญเติบโตและขยายพันธ์ได้รวดเร็วจนกลายเป็นวัชพืช ทําให้เกิดนํ าเสียและการไหลเวียนของนํ า ไม่สะดวก แต่ด้วยคุณสมบัติของผักตบชวาทีมีความเหนียวและทนทาน จึงมีผู้คิดนําเอามาทําประโยชน์

โดยนํามาตากแห้งแล้วนําเข้าเครืองรีดและนําไปถักหรือสานเป็นหมวก กระเป๋า ตะกร้า กระจาด แผ่น รองแก้ว เป็นต้น

3. ผ้าและเส้นใย เป็นวัสดุทีนิยมผลิตเป็นของทีระลึกทีแพร่หลายอีกประเภทหนึง เช่น ผ้า ไหม ผ้าฝ้าย ในรูปของเครืองนุ่งห่ม ของใช้ ของประดับต่างๆ มีการตกแต่งสีและลวดลายบนพืนผ้า แบบต่างๆ เช่น การทอลวดลาย การย้อมบาติก การย้อมม่อฮ่อม การปักลาย การพิมพ์ ซิลค์

สกรีน ฯลฯ

4. ดิน ผลิตภัณฑ์ทีทําจากดิน ได้แก่ เครืองปั นดินเผามีทั งเครืองปั นดินเผาแบบ Earthen Ware เป็นเครืองดินเผาทีเผาในอุณหภูมิตํา ลักษณะเครืองปั นดินเผามีเนือหยาบ มีสีเทาอ่อน นํ าตาลอ่อน เหลืองอ่อน เคาะมีเสียงทึบไม่กังวาน เช่น ภาชนะ ของประดับ ของใช้ต่างๆ ทีเผาโดยวิธีการเผาแบบ กลางแจ้ง เป็นต้น นอกจากนียังมีเครืองปั นดินเผาประเภท Ston Ware ซึงเผาในอุณหภูมิสูง (1190 ◌ํซ – 1390 ◌ํซ) มีเนือแน่นหยาบและแข็งแกร่งมาก ส่วนอีกประเภทหนึงทีทํากันแพร่หลายทั งในรูปแบบของ ภาชนะและของประดับต่างๆ คือ เครืองปั นดินเผาประเภท Porcelain Ware เป็นเครืองปั นดินเผาทีใช้ดิน สีขาวและส่วนผสมอืนๆ เผาในอุณหภูมิ 1250 ซ ขึนไปจะได้เครืองปั นดินเผาทีมีเนือละเอียด ลักษณะ คล้ายแก้วมีความแข็งแกร่งมาก นํ าและของเหลวไม่สามารถซึมได้

5. ต้นปอสา ใช้ทํากระดาษโดยใช้เยือเปลือกของต้นสามารถทําตามกระบวนการการทํากระดาษ นิยมเอาไปทําร่ม ของใช้และของประดับอืนๆ เช่น กระเช้า ถาด ตุ๊กตา กระดาษ ห่อของขวัญ ดอกไม้

ประดิษฐ์ ภาพเขียน ฯลฯ ปัจจุบันของทีระลึกจากกระดาษสาเป็นทีแพร่หลายพอสมควรเพราะสามารถ นํามาประดิษฐ์ได้หลายรูปแบบ รวมทั งสามารถระบาย ย้อมและพิมพ์สีลวดลายบนเนือกระดาษได้

(18)

วัสดุเหล่านีเป็นวัสดุธรรมชาติทีสามารถหาได้ในท้องถินสามารถนํามาสร้างสรรค์ผลงานได้หลาย รูปแบบ ตามแต่ผู้ออกแบบจะคิดประดิษฐ์กันขึนมา ในการศึกษาใยวิชาออกแบบของทีระลึก เน้นถึงการ ใช้เศษวัสดุมาใช้ประโยชน์ จากวัสดุและรูปแบบของทีระลึกในท้องถินทีกล่าวมาแล้วนั น เราสามารถ นําเอาวัสดุเหลือใช้มาใช้ประโยชน์ต่อได้ เช่น เศษไม้ทีเหลือจากการแกะสลัก เส้นใยจากการทอผ้า เศษ ดิน เศษกระดาษสา เป็นต้น

การเพิมมูลค่าสินค้าด้วย การออกแบบ (V.A.D. : Value Added by Design)

กรอบแนวความคิดในการเพิมมูลค่าของสินค้า (Value Added) ของโลกนอกจากจะเป็นการ เปลียนแปลงวัสดุพืนฐานให้มี ประโยชน์ใช้สอยมากขึนด้วยเทคโนโลยีแล้ว การเพิมมูลค่าสินค้าด้วย การออกแบบเป็นทียอมรับ กันมานานและกําลังเข้ามามีบทบาทในประเทศไทยมากขึน การเพิมมูลค่า ด้วยการออกแบบมีกรอบความคิดทีอาจจะสรุปสั นๆได้ว่า “...เป็นการออกแบบทีต้องสนองปมทางจิตใจ ของมนุษย์ แสวงหาความต้องการเบืองลึกในใจของผู้บริโภค นําเสนอ ความแปลกใหม่ สนองกิเลสตัน หา ความสะดวก ความเพลิดเพลิน ความงดงามและความปลอดภัย…” หากสินค้า (หรือการบริการ) ใด สามารถเข้าถึงจุดทีว่ามาข้างต้นได้สินค้า (หรือการบริการ) นั นก็จะเป็นที ยอมรับและประสบ

ความสําเร็จ

8 ข้อคิด-ข้อมูลทีอาจทําให้การเพิมคุณค่าสินค้าด้วยการ ออกแบบของเมืองไทยไม่แล่นลิว ปัจจัยทีใช้พิจารณาหาข้อคิดและ ข้อมูลของอุปสรรคทีว่านีจับความตั งแต่ลักษณะประจําตัวของคนไทย ประวัติศาสตร์ทีเกียวเนือง ลักษณะการบริหารสังคมการเรียนการสอน และข้อมูลเมืองไทยกับ

โลกาภิวัฒน์

1. ครูออกแบบศิลป์ไทยแต่โบราณจะหวงวิชาและขาดการจดบันทึก เพราะส่วนใหญ่แล้ว จะเป็นการถ่ายทอดจาก บุคคลสู่บุคคล มีครูช่างจํานวนไม่มากนักทีจะเปิดเผยและเผยแพร่ กล

ยุทธในการออกแบบสู่สาธารณะหรือบุคคลทัวไป อีกบางครั งยังมี ธรรมเนียมเชือปฎิบัติของลูกศิษย์อีก ในเรืองของการออกแบบหรือ การทํางานทีไม่ตรงกับทีครูช่างเคยทํากันมา เรียกว่าเป็นการ “ผิดครู” จึง ทําให้ระบบและแนวความคิดในการออกแบบถูกจํากัดไม่ให้ มีการขยายแนวความคิดออกไปสู่สิงใหม่

เป็นการยําเท้าตามรอยเดิม และสร้างวิถีปฎิบัติการ “ลอกแบบ” กันในสังคมของนักออกแบบไทย มาแต่

โบราณ งานศิลปกรรมหรือสถาปัตยกรรมทีมีคุณค่าในอดีต ของไทยจึงเป็นระบบประเพณีนิยมการ ถ่ายทอดมากกว่าการสร้าง สรรค์สิงใหม่ให้เกิดความหลากยุคหรือเกิดการสะท้อนความเป็นอยู่ ของ ชุมชนน้อยกว่าทีควรจะเป็นแต่ก็ยังโชคดีทีประเทศไทยนั นมี ครูช่างบางท่านทีเป็นอัจฉริยะบุคคล ผู้สร้างงานต้นแบบทีมีคุณภาพ อย่างยิงทําให้ระบบการลอกแบบทีลอกแบบจากสิงทีมีคุณภาพสูงยิง เป็นงานทียอมรับกันได้

2. ระบบการศึกษาไทยเป็นการสอนให้ลอกแบบมากกว่าการสอนให้สร้างสรรค์ หมายถึง

(19)

ระบบการศึกษายุคใหม่ในวิชา ศิลปะในโรงเรียนมากมาย ทีอาจารย์มักให้นักเรียนวาดรูปหรือทํางาน ศิลปหัตถกรรมตามตัวอย่างทีอาจารย์นํามาให้เป็นแบบ นักเรียน จะต้องพยายามลอกแบบให้เหมือน หรือใกล้เคียงทีสุดเท่าทีจะทําได้ เพราะทําเช่นนั นมากทีสุดเท่าไร จะได้คะแนนเรียนสูงขึนมากเป็น เกณฑ์หากนักเรียนผู้ใดมิได้ลอกแบบตามทีอาจารย์ต้องการหรือมี ความคิดในการปรับแต่งสร้าง

จินตนาการตนเองขึนมา (ซึงส่วนใหญ่ จะยังไม่สามารถผลิตงานทีดีมากๆ ได้ เพราะเป็นเพียงช่วงเริมต้น ของ การสร้างสรรค์) ก็จะถูกอาจารย์ต่อว่าและให้คะแนนเรียนในงานชินนั นๆ ตํา เหตุทีเกิดอาจจะ พิจารณาออกได้เป็น 2 ประเด็นคือ

ประเด็นแรกเป็นเพราะอาจารย์เอง ก็เคยรํ าเรียนมาด้วย ระบบการลอกแบบเช่นนั นมา จึง นํามาใช้กับนักเรียนของตนเองโดยไม่เข้าใจหรือยังคิดวิธีการสอนทีดีกว่านั นไม่ได้ หรืออีกประเด็นหนึง ก็คือ อาจารย์เองไม่มีความรู้ความสามารถในการออกแบบสร้างสรรค์ทีดี เพียงพอจึงไม่สามารถ

ถ่ายทอดสิงทีดีกว่าให้กับนักเรียนของตนเองได้ และผลจากระบบการเรียนเช่นนี ทําให้ประเทศไทยเรา ไม่สามารถ กระจายความสามารถในการออกแบบสร้างสรรค์ให้เป็นฐานทีใหญ่ เพียงพอ ไม่สามารถ สร้างความเข้าใจทางด้านศิลปะให้ฝังรากลึกเข้าไป ในความเข้าใจของประชาชนเป็นระบบการสร้างให้

นักเรียนเป็น “นักลอกแบบ (Copier)” มากกว่าเป็น “นักออกแบบ (Designer)” สร้างให้เหล่านักเรียน เป็นเพียง “ช่างฝีมือ (Skill Work Man)” ทีผลงานออกมาด้วยความชํานาญมากกว่าทีจะเสริมสร้างให้

นักเรียน ตนเองนั นเป็น “นักสร้างสรรค์ (Creator)” ทีพยายามสร้างสรรค์ งานศิลป์ใหม่ๆ ขึนและผลที

ตามมาก็คือสังคมไทยเป็นผู้ทีไม่เข้าใจการ เสพทางรสนิยมทีดีเพียงพอ ถูกกําหนดความต้องการและ ความรู้สึก ของตัวเอง (ทีตนเองคิดว่าคือรสนิยม) ให้เป็นไปตามกระแสความนิยม (กระแสการตลาด) ที

ตนเองไม่ได้เป็นผู้ใช้ความรู้สึกบริสุทธิ ที สร้างสรรค์ของตนเป็นผู้เลือกใช้ ซึงปัจจุบันกระแสเหล่านี

มักจะ มาจากนอกประเทศเกือบทั งสิน

การเรียนประวัติศาสตร์อย่างท่องจํา สร้างความเบือหน่าย และทําลายภูมิปัญญา ทั งทีประเทศ ไทยนั นเป็นประเทศทีมีประวัติ อันยาวนาน เป็นประเทศทีมีงานศิลป์ทีเป็นเอกลักษณ์ทีคนทัวโลก ยอมรับ แต่ครั นเมือยุคสมัยเปลียนไป ระบบการผลิตด้วยเทคโนโลยี ต่างๆ เข้ามามีบทบาทมากขึน ความสามารถในการปรับตัวของประชาชนไทยมีน้อย เกิดการขาดช่วงขาดการต่อเนืองเพราะระบบการ เรียน ประวัติศาสตร์ของไทย เป็นระบบการเรียนแบบท่องจําไม่เน้นเรือง แนวคิดและเหตุผล ทีมาของ ประวัติศาสตร์เหล่านั นเป็นตําราเรียนทีอยู่ ในกรอบของผู้บริหารหรือผู้มีอํานาจต้องการให้นักเรียน นักศึกษา รู้เพียง ผลทีตนเองต้องการให้รู้ เป็นการเรียนเพียงแง่มุมเดียวของเหตุการณ์ ทีเกิดขึนในอดีต ทําให้เป็นทีเบือหน่ายของนักเรียน โดยเฉพาะอย่างยิง นักเรียนในวัยรุ่นทีเป็นวัยต้องการแสวงหา และมี

คําถามในสิงรอบตัว ทําให้นักเรียนทีจะได้คะแนนดีเป็นนักเรียนทีมีความสามารถในการ ท่องจํา ไม่ใช่

นักเรียนนักศึกษาทีมี เหตุและผล ภูมิปัญญาหลายอย่าง ของไทยรวมถึงภูมิปัญญาทางศิลป์ จึงถูกจํากัด อยู่เพียงรูปแบบสุดท้าย ไม่ทราบเหตุผลทีมา (เช่น เรียนรู้ว่าหลังคาบ้านไทยจะต้องเป็นจัวทรง สูงเจดีย์

(20)

ไทยจะต้องมีทรงกลมหรือเป็นลักษณะการย่อมุมไม้ 12 โดยไม่จําเป็นทีจะต้องทราบว่าทําไมหลังคา บ้านทรงไทยจึงต้องเป็นรูปจัวทรง สูง หรือเจดีย์ไทยทําไมต้องย่อมุมโดยรอบเป็นหยักเหลียมๆ 12 มุม) ทั งๆ ทีสิงต่างๆ ทีบรรพบุรุษไทยสร้างขึนมาเป็นประวัติศาสตร์และ เป็นมรดกให้ลูกหลานไทยนั นล้วน แต่มีเหตุมีผลและมีภูมิปัญญาแฝง ไว้อยู่เกือบทั งสิน จึงเป็นทีน่าเสียดายว่าระบบการเรียนประวัติศาสตร์

ของไทยกลายเป็นสิงเร่งเร้าให้เยาวชนของชาติถอยห่างจากการเชือม ต่อของภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย ประเด็นทีสอง ระบบการศึกษาและระบบการบริหารไทย ไม่สร้างเสริม ให้ใช้

สมองครบ 2 ด้านโดยทีสมองของมนุษย์โดยปกติจะมี 2 ด้าน ด้านขวามือนั นจะเป็นเรืองของความคิดที

เป็นระบบทีมีเหตุมีผล (Order) และสมองซีกซ้ายมือเป็นสมองทีเป็นความคิดด้านการสร้าง สรรค์

(Creative) ซึงระบบการวัดผลทีใช้เชิงจํานวนมากกว่าคุณภาพ (Quantitative not Qualitative) เพราะเป็น การใช้เกณท์ตัดสิน ทีง่ายต่อการตัดสินมากทีสุด การให้คะแนนนักเรียน นักศึกษา ของไทย ในระบบ การศึกษาทัวไป หรือการให้รางวัลตําแหน่งเพิมขึนหรือลดลง ในระบบการบริหารองค์กรก็จะเป็นเชิง จํานวนมากกว่าเชิงคุณภาพ (เพราะแม้การวัดเชิงคุณภาพก็พยายามทีจะเอาจํานวนเข้ามาเป็น ดัชนีชีนํา) ซึงจากระบบการศึกษาและระบบการบริหารเช่นนีทําให้ นักเรียนและอาจารย์ ลูกน้องและเจ้านาย ลูกจ้างและนายจ้าง ต่าง พยายามทีจะใช้สมองซีกขวา (Order) ในการทํางานและการแก้ ปัญหา การ บริหาร การใช้สมองซีกซ้าย (Creative) ก็จะลีบเล็กเรียวลง กลาย เป็นสังคมทีกลัวต่อการนําเสนอสิง ใหม่จากผู้ทีไม่มีอํานาจ หรือผู้ทีมี สิทธิตําเพราะผู้ทีมีอํานาจมากกว่าไม่มีเครืองรับทําความเข้าใจต่อการ นําเสนอของผู้ทีด้อยกว่า และผู้ทีด้อยกว่าก็ไม่อยากจะนําเสนอสิงใหม่ ทีเป็นความสร้างสรรค์เพราะเกรง จะผิดต่อกฎเกณฑ์หรือไม่เป็นทีพอใจ หรือเกรงว่าจะสร้างความรําคาญกับผู้ทีมีอํานาจมากกว่า

เคยคิดไหมว่าทําไมนักออกแบบไทยจึงเป็นเพียง เยาวชนวีรชน หากติดตามข่าวสารในรอบ 20 ปีเกียวกับการประกวด ผลงานทีเกียวข้องกับศิลป์ของโลก จะพบว่าเด็กไทยจํานวนมากได้ สร้างชือเสียง ให้กับประเทศไทยโดยการชนะการประกวดระดับโลก หลายรางวัลเป็นเยาวชนจากทัวประเทศทีไม่ได้

จํากัดเพียงทีศึกษา อยู่ในสภาพแวดล้อมของกรุงเทพมหานคร เยาวชนนักเรียนไทยจาก อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย (ลูกศิษย์ครูสังคม ทองมี) เป็นเยาวชนไทย กลุ่มแรกทีชนะการประกวดภาพเขียนเยาวชน ระดับโลก หลังจากนั น นักเรียนจากหลายโรงเรียนก็เข้าร่วมประกวดและชนะงานระดับโลก มากมาย นิสิต นักศึกษาจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ หลากหลาย สถาบันทัวประเทศเช่น จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศรีปทุม สถาบันเทคโน โลยี

พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังฯลฯ ก็ชนะการประกวด ระดับโลกของ U.I.A. (Union of International Architect) จนนักเรียน นิสิต นักศึกษาไทย เป็นทีเกรงขามต่อวงการออกแบบ ทัวโลก

แต่ครั งเมือเหล่านักเรียนนิสิตนักศึกษาเหล่านั นเติบโต ขึนเป็นผู้ใหญ่ความสามารถ

ในการแข่งขันนั นหมดไป ยากทีจะหา เยาวชนผู้มีความสามารถในอดีตและปัจจุบันเป็นผู้ใหญ่แล้วจะ ชนะ การประกวดใดๆ ในระดับโลกอีก จึงอาจจะสันนิษฐานได้ว่าปัญหาอยู่ที การเปลียนแปลงสภาวะ แวดล้อมของเขาเหล่านั น ซึงเมือครั งยังเป็น เยาวชนอยู่เขาได้รับโอกาสและได้รับการสนับสนุนจาก

Referensi

Dokumen terkait

การศึกษาทักษะทางสังคมของนักเรียนโครงการศูนย์ศักยวิโรฒ ในการจัดการศึกษา แบบเรียนร่วมส�าหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ : กรณีศึกษาโครงการศูนย์ ศักยวิโรฒ

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา อุตสาหกรรมกอสรางเปนอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญในการชวยพัฒนาประเทศ ซึ่งจะเห็น ไดจากที่ในปจจุบันไดเกิดโครงการกอสรางตาง ๆ ขึ้นจํานวนมาก