• Tidak ada hasil yang ditemukan

ข้อเสนอแนะในการน�าผลวิจัยไปใช้

Dalam dokumen หน้า - ThaiJo (Halaman 128-131)

ประกอบ 12 ตัวชี้วัด

1. ข้อเสนอแนะในการน�าผลวิจัยไปใช้

1.1 ด้านการจัดการเรียนรู้

ผู้บริหารควรแสดงพฤติกรรมผู้น�าแบบควบคุมเมื่อมีเรื่องที่ต้องตัดสินใจควรตัดสิน ใจด้วยตนเอง ควรมีบทลงโทษเมื่อผู้ครูท�างานไม่ส�าเร็จตามเป้าหมายและควรมีการก�ากับการท�างาน ของครูอย่างใกล้ชิด และในบางครั้งควรแสดงพฤติกรรมแบบสนับสนุนในเรื่องให้ความไว้วางใจและ เชื่อมั่นในตัวผู้ใต้บังคับบัญชามากขึ้น

1.2. ด้านการจัดระบบดูแลช่วยเหลือเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน

ผู้บริหารควรแสดงพฤติกรรมผู้น�าแบบควบคุม เมื่อมีเรื่องตัดสินใจต่างๆโดยยึด ตนเองเป็นหลักมากกว่ารับฟังผู้อื่น ให้ความไว้วางใจกับครูบ้างเล็กน้อย ควรแสดงพฤติกรรมแบบมี

ส่วนร่วม ผู้บริหารควรรับฟังความคิดเห็นของผู้ครูก่อนสั่งการและก�าหนดเป้าหมายให้ชัดเจน ผู้บริหาร ประสานประโยชน์ของโรงเรียนและประโยชน์ของบุคคลไม่ละทิ้งอย่างใดอย่างหนึ่ง และควรแสดง พฤติกรรมแบบสนับสนุน เมื่อเกิดการท�างานที่ผู้บริหารรู้จักเลือกใช้ค�าพูดเพื่อประสานสัมพันธ์กันใน โรงเรียน

1.3 ด้านการร่วมมือปฏิบัติงานวิชาการของสถานศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยี

นวัตกรรมทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น

ผู้บริหารควรแสดงพฤติกรรมผู้น�าแบบควบคุมเมื่อต้องตัดสินใจเรื่องต่างๆโดยยึด ตนเองเป็นหลักมากกว่ารับฟังผู้อื่น และควรแสดงพฤติกรรมแบบสนับสนุน ในเรื่องความไว้วางใจและ เชื่อมั่นในตัวครูมากขึ้น

1.4 ด้านการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนเพื่อร่วมกันพัฒนา ผู้เรียนตามศักยภาพ

ผู้บริหารควรแสดงพฤติกรรมผู้น�าแบบควบคุมเมื่อมีเรื่องที่ต้องตัดสินใจควรตัดสิน ใจด้วยตนเองผู้บริหารตัดสินใจต่างๆโดยยึดตนเองเป็นหลักมากกว่ารับฟังผู้อื่น มีเรื่องตัดสินใจต่างๆ โดยยึดตนเองเป็นหลักมากกว่ารับฟังผู้อื่นและในบางครั้งควรแสดงพฤติกรรมผู้น�าแบบสนับสนุนเรื่อง ความไว้วางใจและเชื่อมั่นในตัวครูมากขึ้น

1.5 ด้านการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพ

ผู้บริหารควรแสดงพฤติกรรมผู้น�าแบบควบคุมเมื่อมีเรื่องให้ตัดสินใจต่างๆโดยยึด ตนเองเป็นหลักมากกว่ารับฟังผู้อื่น และควรแสดงพฤติกรรมผู้น�าแบบควบคุมในเรื่องให้ความไว้วางใจ และเชื่อมั่นในตัวครูมากขึ้น และผู้บริหารตัดสินใจเรื่องต่างๆโดยยึดตนเองเป็นหลักมากกว่ารับฟังผู้

อื่น และในบางครั้งผู้บริหารจะต้องให้ความไว้วางใจและเชื่อมั่นในตัวครูมากขึ้น 2. ข้อเสนอแนะของงานวิจัยครั้งต่อไป

2.1 ควรมีการศึกษาพฤติกรรมผู้น�า กับผลการปฏิบัติงานอยู่ในจังหวัดอื่นๆเทียบเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร

2.2 ควรมีการศึกษาถึงปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อการ ปฏิบัติงานวิชาการของครู เพื่อน�าผล การวิจัยมาใช้ประโยชน์ในการยกระดับผลการปฏิบัติงานของครู

บรรณานุกรม

เกษม วัฒนชัย. (2551). เป้าหมายและยุทธศาสตร์การส่งเสริมการศึกษาท้องถิ่น. ในส�านักเลขาธิการ สภาการศึกษา. รายงานผลการประชุมสัมมนาเป้าหมายยุทธศาสตร์การศึกษาท้องถิ่น. (หน้า ข).

กรุงเทพฯ : ส�านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

คะแนนโอเน็ตสะท้อนคุณภาพผู้เรียน. (2558). สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2559, จาก http://www.

komchadluek.net/news/edu-health/203437

จันทนา คูหะรัตน์. (2544). พฤติกรรมผู้น�าของหัวหน้าการประถมศึกษาอ�าเภอกับความพึงพอใจ ในการปฏิบัติงานของข้าราชการที่ปฏิบัติงานในส�านักงานการประถมศึกษาอ�าเภอสังกัด ส�านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติในเขตการศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา , มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์. (2546). การบริหารและการนิเทศภายในโรงเรียน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). ฝ่าย เทคโนโลยีทางการศึกษา ส�านักวิทยบริการ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

ประเทือง วิบูลศักดิ์. (2555). คุณภาพการศึกษาไทย “อยู่ที่ครูหรือดูที่เด็ก”. ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2559, จาก http://www.sahavicha.com/?name=blog&file=readblog&id=7457 พรพิพัฒน์ เพิ่มผล. (2556). ภาวะผู้น�าของผู้บริหารมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ธนบุรี.

ศิริชัย พลับพิบูลย์. (2547). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้น�าของผู้บริหารสถานศึกษากับผล การด�าเนินงานของโรงเรียน สังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์

ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

สุนี คล้ายนิล และคณะ. (2553). ผลการประเมิน PISA 2009 บทสรุปส�าหรับผู้บริหาร. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ส�านักงาน ก.ค.ศ. (2551). หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติ

งานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา.

Guillemette, E .J. (1992). Organizational culture, commitment and and effectiveness : An empiricalinvestigation in a hospital setting. New York : Nova.

Matinez-Antonetty, E. (1985). Principle’s leadership and school effectiveness A descritive study of the principle’s authority, teacher autonomy, instruc- tional leadership and leadership style dimension. Dissertation Abstracts Internation.

Marchant, Benjamin B. (1976). Dictionary of Behavior Science. New York: Van Nos- trand Rinehold.

Sergiovanni, Thomas J. (1997). Factors Which Affect Satisfaction and Dissatisfaction of Teachers. Dissertation Abstracts International. New York: McMillan.

Stogdill. Ralph M. (1974). Handbook of Leadership:A study of theory and Research.

New York : Mc Graw-Hill.

Thimson, K.E.(1981). The relationship if leadership behavior of secondary school principles to education-experiential variables. Dissertation Abstracts Inter- national, 41(12), 4926-A

คุณลักษณะบัณฑิต หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่นในศตวรรษที่ 21

ตามความคาดหวังขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา Characteristics of Graduates in Public Administration majoring in Local Government in The 21st Century Based on The Expectation

Of The Local Government Organization,

Dalam dokumen หน้า - ThaiJo (Halaman 128-131)