• Tidak ada hasil yang ditemukan

5.3.1 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

5.3.1.1 การวิเคราะห์สถานการณ์เกี่ยวกับเกมออนไลน์ ควรศึกษาทั้งผลกระทบที่

เกิดขึ้นทั้งเชิงบวกและเชิงลบในมิติที่ครอบคลุมทั้งในอดีต ปัจจุบันและคาดการณ์ว่าจะส่งผลใน อนาคต เพื่อการก าหนดนโยบายที่สอดคล้องกับสถานการณ์ทั้งภายในและระหว่างประเทศ และ เพื่อให้นโยบายสามารถบังคับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลต่อการน ามาปฏิบัติ

5.3.1.2 การยกระดับเกมออนไลน์ให้เป็นประเด็นส าคัญเชิงนโยบายควรอาศัยภาค ประชาสังคมและความร่วมมือของทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อน ผลักดัน ส่งเสริมและแก้ไข ผลกระทบที่เกิดจากเกมออนไลน์ ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม

5.3.2 ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ

5.3.2.1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับเกมออนไลน์ต้องร่วมผลักดันพื้นที่

สร้างสรรค์ส าหรับเด็กและเยาวชน รัฐบาลก าหนดหน่วยงาน รับผิดชอบปัญหาติดเกมใน ระดับชาติ โดยการบูรณาการร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมและก ากับเกม ออนไลน์ ได้แก่ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงวัฒนธรรม ส านักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ สมาคมอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์เกมไทย เป็นต้น

5.3.2.2 ภาครัฐควรมีการจัดท าฐานข้อมูลและติดตามสถานการณ์เกมออนไลน์

ของประเทศอย่างชัดเจนและเป็นระบบ เนื่องจากในแต่ละสถานการณ์มีความแตกต่างกันตาม สภาพแวดล้อมและบริบท จึงควรมีการก าหนดนโยบายหรือมาตรการที่สอดคล้องกับสภาพความ เป็นจริง

ข้อเสนอแนะส าหรับการศึกษาครั้งไป

ควรศึกษาเปรียบเทียบนโยบายการจัดการเกมออนไลน์ของต่างประเทศกับ ประเทศไทยเพิ่มเติม เพื่อความชัดเจนในการวิเคราะห์นโยบายในแต่ละประเด็น และเป็นแนวทาง ในการก าหนดนโยบายที่เหมาะสมของประเทศไทย

ควรศึกษาเปรียบเทียบนโยบายการจัดการเกมออนไลน์ของประเทศมหาอ านาจ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ รัสเซีย เพื่อวิเคราะห์รูปแบบและลักษณะในการด าเนินการเกี่ยวกับ เกมออนไลน์ในฐานะที่เป็นประเทศมหาอ านาจของโลก

บรรณานุกรม

บรรณานุกรม

ดวงพร หุตารมย์. (2550). การลดพฤติกรรมติดเกมออนไลน์ของเยาวชน : กรณีศึกษาผู้ผ่านการอบรม จากศูนย์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กติดเกม สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์.

(ปริญญานิพนธ์ปริญญามาบัณฑิต, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36606

ถวัลย์รัฐ วรเทพพุฒิพงษ์. (2540). การก าหนดและการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ : ทฤษฎีและการ ประยุกต์ใช้. สืบค้นจาก https://www.car.chula.ac.th/display7.php?bib=b1467213 วัชรินทร์ กลับทับลังค์. (2560). ปัจจัยการตัดสินใจสร้างรายได้จากเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษา

ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม. (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต (Master’s thesis), มหาวิทยาลัยสยาม,กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก https://e-

research.siam.edu/kb/decision-making-factors-for-earning/

สมบัติ ธ ารงธัญวงศ์. (2530). การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ Public policy analysis. กรุงเทพฯ:

คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

Dokumen terkait