• Tidak ada hasil yang ditemukan

2. อภิปรายผลการวิจัย 3. ข้อเสนอแนะ 1. สรุปผลการวิจัย

ผลการวิจัย เรื่อง รูปแบบภาวะผู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้วิจัยสามารถสรุปผลการวิจัยตามความมุ่งหมายของการวิจัย ดังนี้

ตอนที่ 1 องค์ประกอบภาวะผู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ผลการสังเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้การสนทนากลุ่ม มาใช้ในการศึกษาในการ รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นฉันทามติของกลุ่มผู้ให้ข้อมูล จ านวน 14 คน จากการสนทนากลุ่ม พบว่า องค์ประกอบภาวะผู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 7 องค์ประกอบ

ตอนที่ 2 การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส ารวจภาวะผู้น าดิจิทัลของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

จากผลการศึกษา รูปแบบภาวะผู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มี 7 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบที่ 1 วิสัยทัศน์ดิจิทัล

บรรยายด้วยตัวแปรส าคัญ จ านวน 15 ตัวแปร องค์ประกอบที่ 2 ความรู้และทักษะดิจิทัล บรรยาย ด้วยตัวแปรส าคัญ จ านวน 12 ตัวแปร องค์ประกอบที่ 3 การจัดการดิจิทัล บรรยายด้วยตัวแปร ส าคัญ จ านวน 11 ตัวแปร องค์ประกอบที่ 4 วัฒนธรรมดิจิทัล บรรยายด้วยตัวแปรส าคัญ จ านวน 11 ตัวแปร องค์ประกอบที่ 5 เครือข่ายความร่วมมือดิจิทัล จ านวน 5 ตัวแปร องค์ประกอบที่ 6 การ ปรับตัวสู่ยุคดิจิทัล บรรยายด้วยตัวแปรส าคัญ จ านวน 4 ตัวแปร องค์ประกอบที่ 7 กลยุทธ์เชิง ดิจิทัล บรรยายด้วยตัวแปรส าคัญ จ านวน 3 ตัวแปร ดังรายละเอียด 7 องค์ประกอบ ดังนี้

2.1 องค์ประกอบที่ 1 วิสัยทัศน์ดิจิทัล ประกอบด้วยตัวแปรส าคัญ 15 ตัวแปร มีค่าน ้าหนักตัวแปรในองค์ประกอบ (Factor Loading) อยู่ระหว่าง 0.510-0.718 มีค่าความ แปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) เท่ากับ 51.101 และค่าร้อยละของความแปรปรวน (percent of variance) เท่ากับ 56.778 และองค์ประกอบนี้สามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมได้

ร้อยละ 56.778 และเมื่อเทียบกับค่าความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) กับองค์ประกอบ อื่นแล้ว องค์ประกอบนี้มีความส าคัญเป็นอันดับ 1

2.2 องค์ประกอบที่ 2 ความรู้และทักษะดิจิทัล ประกอบด้วยตัวแปรส าคัญ 12 ตัวแปร มีค่าน ้าหนักตัวแปรในองค์ประกอบ (Factor Loading) อยู่ระหว่าง 0.507-0.629 มีค่า ความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) เท่ากับ 3.134 และค่าร้อยละของความแปรปรวน (percent of variance) เท่ากับ 3.134 และองค์ประกอบนี้สามารถอธิบายความแปรปรวนของ พฤติกรรมได้ร้อยละ 3.134 และเมื่อเทียบกับค่าความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) กับ องค์ประกอบอื่นแล้ว องค์ประกอบนี้มีความส าคัญเป็นอันดับ 2

2.3 องค์ประกอบที่ 3 การจัดการดิจิทัล บรรยายด้วยตัวแปรส าคัญ จ านวน 14 ตัวแปร มีค่าน ้าหนักตัวแปรในองค์ประกอบ (Factor Loading) อยู่ระหว่าง 0.511-0.645 มีค่า ความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) เท่ากับ 2.242 และค่าร้อยละของความแปรปรวน (percent of variance) เท่ากับ 2.491 และองค์ประกอบนี้สามารถอธิบายความแปรปรวนของ พฤติกรรมได้ร้อยละ 2.491 และเมื่อเทียบกับค่าความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) กับ องค์ประกอบอื่นแล้ว องค์ประกอบนี้มีความส าคัญเป็นอันดับ 3

2.4 องค์ประกอบที่ 4 วัฒนธรรมดิจิทัล บรรยายด้วยตัวแปรส าคัญ จ านวน 7 ตัวแปร มีค่าน ้าหนักตัวแปรในองค์ประกอบ (Factor Loading) อยู่ระหว่าง 0.516-0.718 มีค่า ความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) เท่ากับ 1.475 และค่าร้อยละของความแปรปรวน (percent of variance) เท่ากับ 1.639 และองค์ประกอบนี้สามารถอธิบายความแปรปรวนของ

พฤติกรรมได้ร้อยละ 1.639 และเมื่อเทียบกับค่าความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) กับ องค์ประกอบอื่นแล้ว องค์ประกอบนี้มีความส าคัญเป็นอันดับ 4

2.5 องค์ประกอบที่ 5 เครือข่ายความร่วมมือดิจิทัล บรรยายด้วยตัวแปร ส าคัญ จ านวน 5 ตัวแปร มีค่าน ้าหนักตัวแปรในองค์ประกอบ (Factor Loading) อยู่ระหว่าง 0.596-0.763 มีค่าความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) เท่ากับ 1.424 และค่าร้อยละของ ความแปรปรวน (percent of variance) เท่ากับ 1.583 และองค์ประกอบนี้สามารถอธิบายความ แปรปรวนของพฤติกรรมได้ร้อยละ 1.583 และเมื่อเทียบกับค่าความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) กับองค์ประกอบอื่นแล้ว องค์ประกอบนี้มีความส าคัญเป็นอันดับ 5

2.5 องค์ประกอบที่ 6 การปรับตัวสู่ยุคดิจิทัล บรรยายด้วยตัวแปรส าคัญ จ านวน 4 ตัวแปร มีค่าน ้าหนักตัวแปรในองค์ประกอบ (Factor Loading) อยู่ระหว่าง 0.596-0.763 มีค่าความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) เท่ากับ 1.424 และค่าร้อยละของความแปรปรวน (percent of variance) เท่ากับ 1.583 และองค์ประกอบนี้สามารถอธิบายความแปรปรวนของ พฤติกรรมได้ร้อยละ 1.583 และเมื่อเทียบกับค่าความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) กับ องค์ประกอบอื่นแล้ว องค์ประกอบนี้มีความส าคัญเป็นอันดับ 6

2.5 องค์ประกอบที่ 7 กลยุทธ์เชิงดิจิทัล บรรยายด้วยตัวแปรส าคัญ จ านวน 3 ตัวแปร มีค่าน ้าหนักตัวแปรในองค์ประกอบ (Factor Loading) อยู่ระหว่าง 0.596-0.763 มีค่า ความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) เท่ากับ 1.424 และค่าร้อยละของความแปรปรวน (percent of variance) เท่ากับ 1.583 และองค์ประกอบนี้สามารถอธิบายความแปรปรวนของ พฤติกรรมได้ร้อยละ 1.583 และเมื่อเทียบกับค่าความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) กับ องค์ประกอบอื่นแล้ว องค์ประกอบนี้มีความส าคัญเป็นอันดับ 7

รูปแบบภาวะผู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เขียนเป็นแผนภาพได้ดังนี้ดังแผนภาพ 6

ภาพประกอบ 7 รูปแบบภาวะผู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

จากแผนภาพ 7 รูปแบบภาวะผู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ จากข้อค าถามทั้งหมด ผู้วิจัย สรุปเป็นนิยามขององค์ประกอบ ได้ดังนี้

1. วิสัยทัศน์ดิจิทัล หมายถึง ความสามารถในการแสดงออกของผู้บริหารสถานศึกษา ในการคาดการณ์และมองการณ์ไกล เพื่อความส าเร็จในการบริหารงานสถานศึกษาโดยใช้

เทคโนโลยีดิจิทัลใหม่ ๆ ผู้บริหารสร้างกลยุทธ์ดิจิทัลเพื่อเป็นโอกาสในการแข่งขัน และมีความเข้าใจ ในเทคโนโลยีและกลยุทธ์ที่สนับสนุนเป้าหมายให้ส าเร็จ

2. ความรู้และทักษะดิจิทัล หมายถึง ความสามารถในการแสดงออกของผู้บริหาร สถานศึกษาในการค้นหา ประเมิน ใช้ แบ่งปัน และสร้างเนื้อหาโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล รวมถึงการ ใช้ทักษะด้านความรู้ความเข้าใจ วิจารณ์ สร้างสรรค์ และสังคมด้วยการแพลตฟอร์มและ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มีความคิดสร้างสรรค์ ในการวิเคราะห์เนื้อหาดิจิทัลที่มีคุณภาพพร้อมทั้งค้นพบ

1. วิสัยทัศน์ดิจิทัล 2. ความรู้และทักษะดิจิทัล 3. การจัดการดิจิทัล 4. วัฒนธรรมดิจิทัล

5. เครือข่ายความร่วมมือดิจิทัล 6. การปรับตัวสู่ยุคดิจิทัล

7. กลยุทธ์เชิงดิจิทัล

รูปแบบภาวะผู้น าดิจิทัล ของผู้บริหารสถานศึกษา

สังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน

วิธีใหม่ในการท าสิ่งต่าง ๆ รวมถึงมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะ เทคนิคทางด้านดิจิทัลเพื่อการ แก้ปัญหาและการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ

3. การจัดการดิจิทัล หมายถึง ความสามารถในการแสดงออกของผู้บริหาร สถานศึกษาในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับครู มีทักษะการบริหารงานอย่างมืออาชีพ ทักษะการ สื่อสาร มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีการยอมรับการเปลี่ยนแปลง มีพฤติกรรมของผู้บริหารในการ ปฏิบัติตนให้เป็นตัวอย่างที่สามารถใช้ดิจิทัลการปฏิบัติงานอย่างได้เหมาะสม และเป็นผู้ให้

ค าปรึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพในการทดลองและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ในยุคดิจิทัล

4. วัฒนธรรมดิจิทัล หมายถึง ความสามารถของผู้บริหารสถานศึกษาในการรวมทีม การร่วมกันท างานด้วยความเต็มใจ โดยมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารในการท างาน อย่าง เปิดเผย รวมไปถึงการเผยแพร่ข่าวสารในแบบดิจิทัล เพื่อน าไปใช้ในการบริหารสถานศึกษา ที่ครู

และบุคลากรทางการศึกษาเกิดความร่วมมือร่วมใจในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น และน าปัญหาที่

เกิดมาใช้เป็นแนวทางด้านกลยุทธ์เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการท างาน

5. เครือข่ายความร่วมมือดิจิทัล หมายถึง ความสามารถในการแสดงออกของ ผู้บริหารสถานศึกษาในการรวมทีม การร่วมกันท างานด้วยความเต็มใจ โดยมีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารในการท างาน อย่างเปิดเผย รวมไปถึงการเผยแพร่ข่าวสารในแบบดิจิทัล เพื่อน าไปใช้ในการบริหารงาน มีทีมงานที่มีประสิทธิภาพ และความร่วมมือร่วมใจในการแก้ไข ปัญหาต่าง ๆ และน ามาวางแผนก าหนดด้านกลยุทธ์ เทคนิควิธีการ แนวทางปฏิบัติในการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการท างานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล

6. การปรับตัวสู่ยุคดิจิทัล หมายถึง ความสามารถในการแสดงออกของผู้บริหาร สถานศึกษาในการสร้างความตระหนักถึงเทคโนโลยีดิจิทัล สร้างแรงบันดาลใจ ช่วยให้ครูและ บุคลากรในโรงเรียนสามารถปรับตัวและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่ท้าทายได้ในยุคดิจิทัล โดยอาศัยการ เรียนรู้และสร้างนวัตกรรมร่วมกันระหว่างผู้บริหารสถานศึกษากับครูและบุคลากรในโรงเรียน โดยวิเคราะห์สภาพปัญหา ระบุปัญหาได้ การสื่อสาร และการยอมรับฟังความคิดเห็น

7. กลยุทธ์เชิงดิจิทัล หมายถึง ความสามารถในการแสดงออกของผู้บริหาร สถานศึกษาในการมีวิธีการหรือแนวทางในการบริหารสถานศึกษาที่จะประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน รวมถึงการสร้างระบบบริหารจัดการปัญหาและข้อร้องเรียน ต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว

Dokumen terkait