• Tidak ada hasil yang ditemukan

จากการศึกษาวิจัยขอบอํานาจตามกฎหมายของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนเปรียบเทียบ กับกฎหมายสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในไทย และกฎหมายสถาบันอุดมศึกษาของตางประเทศ ตามที่อยูในขอบเขตการวิจัย พบวายังมีประเด็นปญหาขอกฎหมายที่ควรไดรับการแกไขเพิ่มเติม หรือปรับปรุง เพื่อใหเกิดความชัดเจนและความเขาใจมากขึ้นในเรื่องบทบาทอํานาจหนาที่ตาม กฎหมายของสถาบันอุดมศึกษาและความเปนอิสระของมหาวิทยาลัย ที่ควรมีเหมือนกันทั้ง สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนดังตอไปนี้

5.2.1 รูปแบบของกฎหมายสถาบันอุดมศึกษา

5.2.2 การยกเลิกบทบัญญัติบางมาตราในหมวด 7 สวนที่วาดวยการกํากับและ ควบคุม

5.2.3 การยกเลิกบทบัญญัติในสวนบทกําหนดโทษ ใหเหลือเพียง 1-2 มาตรา 5.2.4 การแบงประเภทและระดับการกํากับและควบคุมสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 5.2.5 การมีบทบัญญัติเฉพาะวาดวยอํานาจหนาที่ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 5.2.1 รูปแบบของกฎหมายสถาบันอุดมศึกษา

การที่สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งสวนใหญจะมีพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยของ แตละมหาวิทยาลัยเปนของตนเอง ยกเวนแตเฉพาะกรณีพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 ซึ่งเปนรูปแบบพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยฉบับเดียว บังคับใชกับทุกมหาวิทยาลัย ราชภัฎ เชนเดียวกับพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2546 ทําใหเห็นไดวารูปแบบ ของกฎหมายมหาวิทยาลัยทั้งของรัฐและเอกชน มีความลักหลั่นกันอยู เพราะโครงสรางกฎหมาย ของมหาวิทยาลัยทั้งของรัฐและเอกชนแมจะมีลักษณะที่ใกลเคียงกันแตกฎหมายวาดวย

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน กลับยังมีบทบัญญัติวาดวยการกํากับและควบคุมจากรัฐอยู ทั้งนี้เมื่อ พิจารณาเปรียบเทียบกับพระราชบัญญัติของมหาวิทยาลัยที่ออกนอกระบบ ซึ่งก็ยังเปนรูปแบบ กฎหมายอันเปนการเฉพาะของมหาวิทยาลัย โดยมีการเสนอกฎหมายแยกตางหากจากกันในแต

ละมหาวิทยาลัย แมจะงานวิจัยบางฉบับระบุถึงความจําเปนในการตรากฎหมายเปนรายฉบับ (สุรินทร จิรวิศิษฎ, 2532:205) กรณีกฎหมายของมหาวิทยาลัยรัฐ แตถารูปแบบกฎหมายของ มหาวิทยาลัยทั้งรัฐและเอกชน ไมอยูภายใตพระราชบัญญัติเดียวกัน ดังเชน รูปแบบกฎหมาย ของมหาวิทยาลัยในบางประเทศ เชน ปาเลสไตน และอื่น ๆ หลักการของกฎหมายวาดวย การศึกษาแหงชาติ ที่ประสงคใหสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและสถาบันอุดมศึกษาเอกชน อยู

ภายใตการกํากับติดตามการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเดียวกัน ยอมนาจะเปน ความจริงเพียงครึ่งเดียว เพราะความเปนอิสระของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามกฎหมายมิไดมี

เทาเทียมกับสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ดังนั้นจึงควรมีการเสนอรางกฎหมายใหสถาบันอุดมศึกษา ทั้งของรัฐและเอกชนอยูภายใตกฎหมายฉบับเดียวกัน

5.2.2 การยกเลิกบทบัญญัติบางมาตราในหมวด 7 สวนที่วาดวยการกํากับ และควบคุมตั้งแตมาตรา 71-99 ทั้งหมดรวม 28 มาตรา (เดิมมี 29 มาตรา แตมาตรา 81 ถูกยกเลิกไป) บทบัญญัติในหมวด 7 นี้ ยังมีอยูในพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2546 อันเปนกฎหมายฉบับใหม จนกระทั่งการแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 บทบัญญัติในสวนนี้ก็ยังไมถูกยกเลิกไป ทั้งที่เหตุผลของการแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) ตองการ ใหสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนมีแนวปฏิบัติที่ไมแตกตางกัน บทบัญญัติในหมวด 7 นี้จึง เปนการสะทอนภาพความไมเทาเทียมกันระหวางสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนในเรื่องการ กํากับดูแลจากรัฐ การออกนอกระบบของมหาวิทยาลัยรัฐที่หลายทานวิตกกังวลวาจะทําให

มหาวิทยาลัยรัฐแปรเปลี่ยนเหมือนมหาวิทยาลัยเอกชนอาจตองมามองดูความจริงอีกดานหนึ่งที่

การออกระบบราชการของมหาวิทยาลัยรัฐ ทําใหมหาวิทยาลัยรัฐมีความเปนอิสระปลอดจากการ กํากับของรัฐมากกวามหาวิทยาลัยเอกชน

ผูวิจัยจึงใครขอเสนอแนะวา ควรมีการทบทวนบทบัญญัติในหมวด 7 วาดวยการ กํากับและควบคุมใหเหลือเพียงบทบัญญัติในเรื่องที่จําเปน ซึ่งโดยความเห็นสวนตัวอยาก เสนอแนะใหยกเลิกบทบัญญัติในหมวด 7 นี้ทั้งหมด แตอยางไรก็ตามก็อาจเปนไปไดหากในแง

ของคณะกรรมการการอุดมศึกษา ถาสมมติตองเจอกับปญหาของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนบาง แหง (สวนนอยมาก) ที่อาจมีการปฏิบัติที่ไมเหมาะสมในกิจการของสถาบัน ซึ่งถาไมมีอํานาจใน สวนนี้ไว รัฐโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษาก็อาจไมสามารถแกไขปญหาและคุมครองประโยชน

ของนักศึกษาไดอยางเต็มที่

5.2.3 การยกเลิกบทบัญญัติในสวนบทกําหนดโทษ ใหเหลือเพียง 1-2 มาตรา

จากการศึกษาวิเคราะหกฎหมายวาดวยสถาบันอุดมศึกษาเอกชนเปรียบเทียบกับ กฎหมายวาดวยสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งมีอยูหลายฉบับพบวา กฎหมายสถาบันอุดมศึกษา ของรัฐที่ยังไมออกนอกระบบ หรือกฎหมายของมหาวิทยาลัยที่ออกนอกระบบแลวจะมีบทกําหนด โทษ เพียง 1-2 มาตรา เทานั้นในเรื่องโทษจาก (1) การใชตราสัญลักษณ ครุยวิทยฐานะ เข็ม วิทยฐานะ ครุยประจําตําแหนง เครื่องแบบ เครื่องหมาย ๆ โดยไมมีสิทธิ หรือ (2) การปลอม เลียนซึ่งตรา ผูวิจัยจึงมีขอเสนอแนะวาควรมีการแกไขปรับปรุงบทบัญญัติในเรื่องบทกําหนดโทษ ของพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 ใหเหลือเพียง 1-2 มาตรา โดยมี

เนื้อหาของบทกําหนดโทษเชนเดียวกับกฎหมายสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

5.2.4 การแบงประเภทและอันดับของการควบคุมสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ในบางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา มีการจัดอันดับมหาวิทยาลัยเพื่อเปนขอมูล ประกอบการตัดสินใจของนักศึกษาที่จะศึกษาตอ ประเทศไทยเราก็เคยมีการคิดจัดอันดับ

มหาวิทยาลัยอยูชวงหนึ่งเหมือนกัน แตทวาก็ไมไดรับการตอบรับดีเทาที่ควรและสวนหนึ่งก็อาจยัง ไมแนใจเกี่ยวกับหลักเกณฑที่ใชในการจัดอันดับ

โดยความเห็นสวนตัวของผูวิจัยเห็นวา วิธีการจัดอันดับสามารถนํามาประยุกตใช

กับการกํากับและควบคุมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนได ดวยเหตุที่สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและ เอกชนตางก็อยูภายใหการกํากับติดตามการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเดียวกันจาก สมศ ( สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ) การประเมินจาก สมศ จะมี

ผลตอการรับรองของสถาบันอยางมาก ทั้งสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน จึงตางตอง พยายามทําใหตนเองผานเกณฑโดยการทําคะแนนใหไดตามเกณฑที่กําหนด ผลการประเมินของ สมศ ยอมสงผลตออนาคตและความเปนไปของมหาวิทยาลัยเปนอยางมากอยูแลว ฉะนั้นการ กํากับและควบคุมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนยอมนาจะผอนคลายหรืออาจยกเลิกบทบัญญัติในสวน นี้ไปก็ได เพื่อใหเปนไปในลักษณะการกํากับดูแลมหาวิทยาลัยที่ออกนอกระบบ แตถายังไม

สามารถดําเนินการไปถึงชั้นนั้นได เพื่อเปนการจัดอันดับของการกํากับและควบคุม

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน อันนําไปสูการกระตุนใหเกิดการแขงขันกันในดานวิชาการ โดยจะอิง จากผลการประเมินของ สมศ ก็ได โดยวิธีการนี้ผูวิจัยเห็นวานาจะเปนบันไดกาวแรกแหงการ นําไปสูการยกเลิกบทบัญญัติในหมวดการกํากับและควบคุม และสามารถเปลี่ยนแนวทางของ กฎหมายสถาบันอุดมศึกษาเอกชนมาเปนการกํากับดูแลไดเฉกเชนเดียวกับสถาบันอุดมศึกษาของ รัฐ

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ผลการประเมินจาก สมศ จํานวนมาตราที่จะบังคับใชใน หมวดกํากับและการควบคุม กลุมอันดับที่ 1

กลุมอันดับที่ 2 กลุมอันดับที่ 3

ดีมาก ดี

พอใช / ผาน

1 มาตรา 14 มาตรา 28 มาตรา

หมายเหตุ อันดับการกํากับและควบคุมใชฐานจากจํานวนมาตราที่มีอยูในหมวด 7 ในสวนการ กํากับและควบคุมทั้ง 28 มาตรา เปนตัวจัดอันดับโดยลดทอนจํานวนมาตราที่จะบังคับใชตาม อันดับของสถาบัน

ในสวนบทบัญญัติเพียง 1 มาตรา ในการกํากับและดูแลสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ผูวิจัยขอเสนอใหถอยคําในบทบัญญัติดังตอไปนี้

มาตรา... รัฐมนตรีมีอํานาจและหนาที่กํากับและดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของ

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ใหเปนไปตามวัตถุประสงคในมาตรา 8 และใหสอดคลองกับนโยบาย ของรัฐบาลหรือมติคณะรัฐมนตรี และคณะกรรมการการอุดมศึกษาหรือหนวยงานของรัฐที่

เกี่ยวของกับสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

รางมาตรานี้เสนอโดยนําแนวทางมาจากมาตรา 46 แหงพระราชบัญญัติ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (ราชกิจจานุเบกษา, 2541 : 16) ซึ่งเปนมหาวิทยาลัย แหงแรกที่ออกนอกระบบโดยมาจากสวนราชการ

5.2.5 การมีบทบัญญัติเฉพาะวาดวยอํานาจหนาที่ของสถาบันอุดมศึกษา เอกชน

อันที่จริงแลว บทบาทอํานาจหนาที่ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่เปนนิติบุคคล โดยมีผูแทนของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน คือ อธิการบดี เปรียบเทียบกับสภาสถาบันอุดมศึกษา เอกชนยอมเปนคนละบทบาทคนละอํานาจหนาที่กัน ดวยเพราะสภาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เปนเพียงองคประกอบสวนหนึ่งในความเปนสถาบันอุดมศึกษา เฉกเชนเดียวกับ

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สภาสถาบันมิไดมีฐานะเปนนิติบุคคลตามกฎหมาย สภาสถาบันเปน เพียงผูมีอํานาจหนาที่ตามกฎหมาย (Authority) ในการวางนโยบายและควบคุมกิจการทั่วไปของ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน โดยมีอํานาจอนุมัติใหความเห็นชอบหรือพิจารณา ในเรื่องที่มี

ความสําคัญที่ควรผานสภาสถาบันเทานั้น การเอาอํานาจหนาที่เพื่อกระทําการตาง ๆ ภายใน วัตถุประสงคที่เปนการเฉพาะของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ที่เปนนิติบุคคลไปบัญญัติเปนอํานาจ หนาที่ของสภาสถาบัน และการไมมีบทบัญญัติเฉพาะวาดวยอํานาจหนาที่ของสถาบันอุดมศึกษา เอกชน เชนเดียวกับพระราชบัญญัติของมหาวิทยาลัยที่ออกนอกระบบ ซึ่งบทบัญญัติในลักษณะ เชนนี้มีมาตั้งแตกอนป พ.ศ. 2546 ยอมแสดงถึงความไมแนใจตอสถาบันอุดมศึกษาเอกชนจาก ภาครัฐ แมสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาอาจจะบอกวาการแกไขกฎหมาย

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ครั้งที่ 2 ก็เพื่อตองการเพิ่มอํานาจหนาที่ใหแกสถาบันอุดมศึกษา เอกชนมากขึ้น แตจริง ๆ แลวเปนการเพิ่มอํานาจใหแกสภาสถาบันมีองคประกอบของกรรมการ สภาสถาบัน มีกรรมการผูทรงคุณวุฒิที่จะตองไดรับความเห็นชอบและแตงตั้งจากรัฐมนตรี แม

ผูรับใบอนุญาตจะมีสิทธิเสนอชื่อไดก็ตาม ซึ่งกรรมการสภาสถาบันโดยกลไกทางกฎหมายถูก กํากับและควบคุมมากขึ้น ตามความในมาตรา 74 ซึ่งผูวิจัยไดเคยใหนิยามไววา บทบัญญัติ

มาตรานี้เปนบทบัญญัติวาดวยการจํากัดอํานาจของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน โดยมีการกําหนด โทษอาญากับกรรมการสภาสถาบันที่มีสวนกระทําผิดตาม มาตรา 74 โดยปรับไดสูงสุดถึง 1

Dokumen terkait