• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

5. ควรแยกประเภทพลาสติกต่าง ๆ สามารถน าไปขายได้

6. ควรแยกประเภทขวดแก้ว กระป๋องเครื่องดื่มต่าง ๆ เศษโลหะ

7. ควรแยกขยะมูลฝอยที่เป็นอันตรายต่าง ๆ ก่อนน าไปก าจัดตามความเหมาะสม จากที่กล่าวมาข้างต้น พอสรุปได้ว่า พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนนั้น ประชาชนต้องมีความรับผิดชอบในการจัดการขยะมูลฝอยภายในครัวเรือน โดยกระท าการคัดแยก ขยะมูลฝอยภายในครัวเรือนของตนเอง เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการก าจัดขยะและจะท าให้มี

ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นน้อยลงอีกด้วย

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมในการจัดการขยะ

สุชาดา ภัยหลีกลี้ (2557) ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมและความรู้ในการจัดการขยะมูลฝอยของ ประชาชนในเขตเทศบาลต าบลนากลาง อ าเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวล าภู โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้

ในการศึกษาจ านวน 397 ครัวเรือน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์

ตัวแทนครัวเรือน ใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) จากการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการคัดแยกขยะประเภทขยะรีไซเคิลสูง คิดเป็นร้อยละ 75.00-79.80 รองลงมาคือ ประเภทขยะแห้ง ขยะเปียก มีการคัดแยกร้อยละ 67.80 และ55.30 ตามล าดับ มีการคัด แยกขยะอันตรายน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 22.30-57.20 ส่วนพฤติกรรมการก าจัดขยะประเภทขยะ เปียก ขยะแห้ง และขยะอันตรายนั้น กลุ่มตัวอย่างจะน าไปทิ้งในถังขยะที่เทศบาลจัดไว้ให้ ส่วนขยะ ประเภทรีไซเคิลจะก าจัดโดยการน าไปขาย ในพฤติกรรมการน ากลับมาใช้ใหม่โดยภาพรวมพบ ค่อนข้างน้อย คือ มีเพียงร้อยละ 26.70-53.00 ส่วนความรู้ในการจัดการขยะกลุ่มตัวอย่างมีความรู้สูง

ที่สุดในการจัดประเภทขยะเปียกมากที่สุด คือ ร้อยละ 94.20 รองลงมาคือความรู้ในการจัดประเภท ขยะรีไซเคิล ประเภทขยะแห้ง ร้อยละ 68.10-78.20 และ 59.60-68.10 ตามล าดับและมีความรู้น้อย ที่สุดในการจัดประเภทขยะอันตรายร้อยละ 46.10-51.50 ส าหรับความรู้ในเรื่องวิธีการจัดการขยะ อันตราย ขยะรีไซเคิล ขยะแห้ง ขยะเปียก ตอบได้ถูกต้องร้อยละ 87.00 76.50 59.40 และ 32.10 ตามล าดับ ส่วนความรู้ความเข้าใจถึงผลเสียของการจัดการขยะไม่ถูกวิธี ตอบถูกร้อยละ 43.60

เฉลิมชาติ แสไพศาล (2556) ศึกษาเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยใน ชุมชน : กรณีศึกษา เทศบาลต าบลแชะ อ าเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การศึกษาจ านวน 405 หลังคาเรือน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการศึกษาพบว่า ชนิดและ ประเภทขยะในเขตเทศบาลต าบลแชะ อ าเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา ส่วนใหญ่เป็น ขยะอินทรีย์

คิดเป็นร้อยละ 58.10 รองลงมาเป็น ขยะรีไซเคิล ขยะทั่วไป และขยะอันตราย คิดเป็นร้อยละ 25.90 9.10 6.90 ตามล าดับ ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยของประชากร ในภาพรวมประชากร ส่วนใหญ่ตอบถูก คิดเป็นร้อยละ 51.31 และ ตอบผิด คิดเป็นร้อยละ 48.96 การรับรู้ข่าวสาร พบว่า ประชากรส่วนใหญ่ได้รับการแนะน าประชาสัมพันธ์จาก เจ้าหน้าที่เทศบาล คิดเป็นร้อยละ 79.30 และได้รับข้อมูล ข่าวสารจากเอกสารแนะน าของทางราชการน้อยสุดคือ คิดเป็นร้อยละ 44.00 ใน เรื่องของการมีส่วนร่วมพบว่าประชากรส่วนใหญ่ ได้แนะน าเพื่อนบ้านคัดแยกขยะมูลฝอยก่อนคิด เป็นร้อยละ 79.60 และการเข้าไปมีส่วนร่วมในการร่วมคิดร่วมท าร่วมแก้ไขปัญหาขยะของชุมชน น้อยสุดคือ ร้อยละ 42.20 ส่วนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยโดยรวมอยู่ในระดับพอใช้ ( = 3.18, S.D. = 0.31) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านพฤติกรรมการลดการเกิดขยะมูลฝอย ใน ภาพรวม อยู่ในระดับ พอใช้ ( = 2.94, S.D. = 0.50) ซึ่งมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ส่วนด้านพฤติกรรมการ น ากลับมาใช้ใหม่ ในภาพรวม อยู่ในระดับพอใช้ ( = 3.59, S.D. = 0.56) ซึ่งเป็นด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูง และด้านพฤติกรรมการคัดแยกขยะมูลฝอย ในภาพรวม ประชากรมีพฤติกรรมการคัดแยกขยะ มูลฝอย อยู่ในระดับพอใช้ ( = 3.0,1 S.D. = 0.58) เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมในการจัดการขยะ มูลฝอย กับปัจจัยส่วนบุคคลพบว่า อาชีพ รายได้หลักของครอบครัว และจ านวนสมาชิกใน ครอบครัว ที่ต่างกัน ในภาพรวมมีพฤติกรรมใน การจัดการขยะมูลฝอย แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส สถานภาพครอบครัว รายเฉลี่ย ครอบครัว และการมีที่พักอาศัยของครอบครัว ที่ต่างกัน ในภาพรวม มีพฤติกรรมในการจัดการขยะ มูลฝอย ไม่แตกต่างกัน

วรรณภา รัตนวงค์ และนงนุช จันทร์ดาอ่อน (2558) ศึกษาเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการ จัดการขยะมูลฝอยในชุมชนเทศบาลต าบลโคกกรวด โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา จ านวน 390 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยใน ชุมชนเทศบาลต าบลโคกกรวด โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 50.51 รองลงมาคือ ระดับสูง และระดับต ่า ร้อยละ 48.47 และ 1.02 ตามล าดับ โดยกลุ่มตัวอย่างมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย ในภาพรวม อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 78.72 ซึ่งส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่าง ตอบค าถามถูกมากที่สุดในเรื่องความหมายของขยะเปียก ร้อยละ 93.85 และตอบผิดมากที่สุด คือ การเผาขยะเป็นการจัดการขยะที่ไม่ถูกต้อง ร้อยละ 36.67 ส่วนทัศนคติในการจัดการขยะมูลฝอย ใน ภาพรวมอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 58.72 โดยมีทัศนคติการจัดการขยะมูลฝอยในเรื่องที่เห็นด้วยมาก ที่สุดคือ การจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะในชุมชน ร้อยละ 42.31 และมีทัศนคติการ จัดการขยะมูลฝอยน้อยที่สุดในเรื่อง การคัดแยกขยะเป็นปัญหาต่อการด าเนินชีวิตประจ าวันของท่าน ร้อยละ 30.51 ส่วนการปฏิบัติในการจัดการขยะมูลฝอย ในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 90.77 โดยส่วนใหญ่ตอบค าถามการปฏิบัติในการจัดการขยะมูลฝอยที่ปฏิบัติเกือบทุกครั้ง คือเรื่อง ก่อนทิ้งขยะมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ร้อยละ 42.31และที่ไม่เคยปฏิบัติ คือเรื่องการน าตะกร้าหรือถุง ผ้าไปจ่ายตลาดแทนการใช้ถุงพลาสติก ร้อยละ 55.90

สมัชญา หนูทอง (2556) ศึกษาเรื่อง ความรู้และพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของ ผู้น าท้องถิ่น: กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอ าเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี โดยกลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา จ านวน 156 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการศึกษาพบว่า ความรู้ในการจัดการขยะมูลฝอยของผู้นาท้องถิ่น ใน ภาพรวมมีระดับสูง ร้อยละ 63.50 โดยมีผู้ตอบถูกมากที่สุดในเรื่อง การจัดการขยะหมายถึง การคัด แยกเป็นพวกๆแล้วน าขยะไปทิ้งลงในแม่น ้า ล าคลอง หรือท่อระบาย คิดเป็นร้อยละ 98.70 และมี

จ านวนผู้ตอบถูกน้อยที่สุดในเรื่องขยะที่ย่อยสลายได้ยาก ได้แก่ เศษแก้ว เศษโลหะ และเศษผัก ผลไม้ คิดเป็นร้อยละ 28.20 ส่วนพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยของผู้น าท้องถิ่น องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอ าเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี โดยภาพรวมมีการปฏิบัติเป็นบางครั้ง ซึ่งพบว่า ด้านการน าขยะมูลฝอยเศษวัสดุหมุนเวียนกลับมาใช้หรือแปรรูปสูงที่สุด รองลงมาคือ ด้าน การลดปริมาณขยะมูลฝอย ด้านการน าขยะมูลฝอย วัสดุอุปกรณ์ที่ช ารุดเสียหายมาซ่อมแซม ด้านการ หลีกเลี่ยงวัสดุที่ท าลายยากและด้านการน าขยะมูลฝอยเศษวัสดุมาใช้ใหม่ ตามล าดับ

อัจฉรี ชัยชนะ, เบญจมาศ สุขเจริญ และ อังคณา จันทร์เกตุ (2559) ศึกษาเรื่อง ความรู้

และพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยตามหลัก 5Rs ของนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์และ สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจ านวน 155 คน เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 3 ซึ่งเป็นผู้ที่ก าลังศึกษาในเรื่องการจัดการมูลฝอยตามหลัก 5Rs เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าเฉลี่ย ค่า ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การใช้ F- test หรือ ANOVA โดยใช้วิธี Fisher’s LSD (Least Significant Difference) ส าหรับการเปรียบเทียบความรู้และพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยตามหลัก 5Rs ของ นักศึกษาที่จ าแนกตามสาขาวิชา และใช้ค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient; r) ส าหรับการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย ตามหลัก 5Rs ของนักศึกษา ผลการศึกษาพบว่า ระดับความรู้เรื่องการจัดการขยะมูลฝอยโดย ภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง ( = 12.66, S.D. =2.23 n = 155) โดยนักศึกษาสาขาวิชาอนามัย สิ่งแวดล้อม (EH) มีค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้ สูงที่สุด ( = 13.97, S.D. = 2.31 n = 39) ส่วน พฤติกรรมการจัดการมูลฝอยตามหลัก 5Rs โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, S.D. = 0.51 n = 155) โดยนักศึกษาสาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม (EH) มีค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรม สูง ที่สุด ( = 3.59, S.D. = 0.45 n = 39) ซึ่งนักศึกษาทุกสาขาวิชามีการน าวัสดุกลับมาใช้ซ ้า (Reuse) มากที่สุด อยู่ในระดับดี และการน าวัสดุหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) น้อยที่สุด เมื่อ เปรียบเทียบความรู้และพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยตามหลัก 5Rs ของนักศึกษาโดยจ าแนกตาม สาขาวิชา พบว่า นักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อมที่มีสาขาวิชาต่างกัน มีพฤติกรรม การจัดการขยะมูลฝอยตามหลัก 5Rs แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และความรู้

และพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของนักศึกษามีความสัมพันธ์กันอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ

(r = 0.025 p = 0.756 n = 155)

กนกรัตน์ นาวีการ, พรทิพย์ หนักแน่น, สุวิทย์ จิตรภัคดี, และอนันต์ ปีญญาศิริ (2552) ศึกษาเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมและความคิดเห็นการจัดการขยะของประชาชนในพื้นที่เกาะลิบง จังหวัดตรัง โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจ านวน 200 ครัวเรือน เครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ผลการศึกษาพบว่า การเข้าร่วมกิจกรรมและการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชนใน พื้นที่ โดยภาพรวม พบว่า ไม่เคยเข้าร่วมกิจกรรมการจัดท าประชาคม/รับฟังความคิดเห็นร้อยละ 62.50 ส าหรับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะนั้น ส่วนใหญ่เคยเข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การจัดการขยะร้อยละ 82.50 ในเรื่องการรับรู้ข้อมูลข่าวสารกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยได้รับ ข้อมูลข่าวสารการรณรงค์เรื่องการคัดแยกขยะก่อนทิ้งร้อยละ 75.50 ในเรื่องการน าความรู้ที่ได้รับไป