• Tidak ada hasil yang ditemukan

ความคิดพื ้นฐานของวิธีการสเปคตรัมของความสามารถ

0.02 0.04 0.06 0.08 0.12 0.14 0.16 0.18

0.00 0.10

0.20 0.40 0.60 0.80 1.20 1.40

0.00 1.00

Displacement, m T/T = 0.5g T/T = 1.0g

T/T = 1.5g

T/T = 2.0g

T/T = 2.5g T/T = 3.0g V /W, g

b

ภาพประกอบ 7 แผนผังความต้องการก าลังส าหรับความเสียหายคงที่

ส าหรับชั้นดินอ่อน = 4 (Phaiboon Panyakapo, 2006)

(1st mode) ค านวณได้จาก

 

 

2 1 1 1

2 1

1 1

n i i i

n n

i i i

i i

w g

w g w g

 

 

 

 

 

(2.25)

wi คือ น ้าหนักอาคารที่ระดับชั้น i

1

i คือ ค่าระดับการเคลื่อนตัวที่ระดับชั้น i ส าหรับรูปแบบการสั่นตอบสนองแบบแรก

roof คือ การเคลื่อนตัวที่ระดับชั้นหลังคาของโครงสร้างเมื่อถูกแรงกระท าจากแผ่นดินไหว

PF1 คือ Participation Factor ส าหรับรูปแบบการสั่นตอบสนองแบบแรก ค านวณได้จาก

 

 

1 1 1

2 1 1 n

i i i

n i i i

w g

PF

w g

 

(2.26)

1,roof

คือ ค่าระดับการเคลื่อนตัวที่ระดับชั้นหลังคาของโครงสร้างส าหรับรูปแบบการสั่นตอบ สนองแบบแรก

Vb a) Nonlinear Static Analysis

Pushover Method

Displacement ( ) b) Pushover Curve

c) Capacity Diagram

1 b/

a

S V W

1 1,

roof d

roof

S PF

Vb

W

ภาพประกอบ 8 การค านวณหาแผนผังความสามารถต้านทานแรงแผ่นดินไหวของอาคาร (ATC-40)

ในวิธีการสเปคตรัมของความสามารถ (Capacity Spectrum Method, CSM) ตามที่เสนอโดย ATC-40 เป็นการพัฒนาเพื่อหาสมรรถนะของโครงสร้างอาคาร ด้วยการหาจุดตัดกันระหว่าง แผนผัง ความต้องการก าลังและความสามารถต้านทานแผ่นดินไหว (Demand-Capacity Diagram or Acceleration-Displacement Response Spectrum, ADRS) ดังแสดงในภาพประกอบ 9 วิธีนี ้เรียกได้

อีกอย่างหนึ่งว่า ขั้นตอนการใช้เชิงเส้นเทียบเท่า (Equivalent Linearization Procedure) เนื่องจากเป็น การค านวณหาการเคลื่อนที่ตอบสนองของระบบไม่เชิงเส้นด้วยระบบเชิงเส้นเทียบเท่า โดยการใช้ค่า คาบการสั่นธรรมชาติประสิทธิผล Teff และค่าความหน่วงประสิทธิผล eff

สเปคตรัมอัตราเร่งตอบสนอง, Sa

สเปคตรัมการเคลื่อนที่ตอบสนอง, Sd ความต้องการก าลัง, 5%

ความต้องการก าลัง,eff o5%

ความสามารถต้านทาน

Teff

initial

k

ED

Eso

1 4

o D

so

E

E

จุดสมรรถนะของโครงสร้าง

2.5CA

v/ C T

A 2.5 A

SR C

v v/ SR C T

 

3.21 0.68ln 2.12

eff

SRA

 

2.31 0.41ln 1.65

eff

SRv

To

ภาพประกอบ 9 วิธีการสเปคตรัมของความสามารถ (Capacity Spectrum Method) โดย ATC-40 การหาจุดสมรรถนะของโครงสร้างนี ้ ได้มีการปรับปรุงวิธีการใหม่เพื่อให้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น โดย FEMA- 440 ซึ่งเสนอค่าตัวคูณปรับแก้ส าหรับความต้องการก าลัง ดังนี ้

2 2 2

max

sec sec

eff eff o

eff o

T T

a T

M a T T T

 

 

(2.27)

โดยที่ amax คือ ค่าอัตราเร่งตอบสนองสูงสุดที่จุดสมรรถนะของโครงสร้าง

aeff คือ ค่าอัตราเร่งตอบสนองประสิทธิผลที่สอดคล้องกับ Teff

Teff คือ คาบการสั่นธรรมชาติประสิทธิผล

Tsecคือ คาบการสั่นธรรมชาติที่ค านวณจากสติฟเนสแบบ secant

To คือคาบการสั่นธรรมชาติที่ค านวณจากสติฟเนสเริ่มต้น

ส าหรับวิธีการวิเคราะห์หาจุดสมรรถนะของโครงสร้าง อาจใช้วิธีการที่แสดงในภาพประกอบ 10 - 11

สเปคตรัมอัตราเร่งตอบสนอง, Sa

สเปคตรัมการเคลื่อนที่ตอบสนอง, Sd ความต้องการก าลัง, 5%

ความต้องการก าลัง,eff o5%

ความสามารถต้านทาน

Teff

จุดสมรรถนะของโครงสร้าง

To

Tsec

ความต้องการก าลังปรับปรุงใหม่,eff,M amax

dmax

aeff

ภาพประกอบ 10 วิธีการสเปคตรัมของความสามารถปรับปรุงใหม่

(Modified Capacity Spectrum Method) โดย FEMA-440 สเปคตรัมอัตราเร่งตอบสนอง, Sa

สเปคตรัมการเคลื่อนที่ตอบสนอง, Sd ความต้องการก าลัง, 1

2

ความสามารถต้านทาน

จุดสมรรถนะของโครงสร้าง

sec 1

T

amax

dmax

sec 2

T

sec 3

T

sec 4

T

sec 5

T

sec 6

T

3

4

5

6

เส้นทางเดินของจุดสมรรถนะของ โครงสร้างที่เป็นไปได้

ภาพประกอบ 11 การหาจุดสมรรถนะของวิธีการสเปคตรัมของความสามารถปรับปรุงใหม่

โดย FEMA-440

2.9 การตรวจสอบสมรรถนะของโครงสร้างอาคารโดยหลักการความเสียหายคงที่

ในการหาสมรรถนะของโครงสร้างอาคารโดยหลักการความเสียหายคงที่ จะใช้หลักการว่า ค่า ความเสียหาย (DI) ของ Demand diagram เท่ากันกับ ค่าความเสียหาย (DI) ของ Capacity diagram หรือค่าความเสียหายเป้าหมาย ที่ท าให้กราฟของ Demand ทับกันกับกราฟของ Capacity นั่นคือ

DIdemand DIcapacity (2.28) โดยที่ DIdemandคือ ค่าระดับความเสียหายของ Strength Demand Diagram

capacity

DI คือ ค่าระดับความเสียหายของ Strength Capacity Diagram

ทั้งนี ้โดยวิธีการค านวณหาจุดตัดกันของกราฟ Capacity กับ Demand ส าหรับค่าความเสียหาย เป้าหมาย ต่างๆกัน ที่เป็นไปได้ทั้งหมด จากแผนผัง Demand – Capacity Diagram และบันทึกค่าที่

ได้บนกราฟของ Demand Diagram เป็นค่าของ Sa และ Sd ส าหรับค่าDIdemand ต่างๆกัน

ส าหรับการค านวณค่าระดับความเสียหาย (damage index) รวมของโครงสร้าง จะต้องใช้

โปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้างซึ่งสามารถค านวณความเสียหายของแต่ละองค์อาคารได้ เช่น โปรแกรม RUAUMOKO, IDARC เป็นต้น

เมื่อท าการเปรียบเทียบกันระหว่างค่าDIdemandและDIcapacityจุดที่ท าให้ค่าทั้งสองนี ้ ใกล้เคียงกันมากที่สุดจะเป็นค่าสมรรถนะของโครงสร้าง (Performance Point) ดังแสดงใน ภาพประกอบ 12

ภาพประกอบ 12 การหาสมรรถนะของโครงสร้างโดยหลักการความเสียหายคงที่

(ไพบูลย์ ปัญญาคะโป 2547)

Vb/W, g

Displacement,cm

0.2 0.4 0.6 0.8 1.0

10 20 30 40 50

T = 0.5 s T = 1.0 s

T = 2.0 s

T = 4.0 s

Elastic Strength Demand Diagram

Inelastic Strength Demand Diagram





(DI = 0.5, Performance Point (DIdem and = DIcapacity)

Capacity Diagram

Garis besar

Dokumen terkait