• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการวิเคราะห์ค่าการเคลื่อนที่สัมพัทธ์สูงสุดของแต่ละชั้นอาคาร

ผลการค านวณโดยวิธีการผลักแบบวัฏจักรให้ค่าใกล้เคียงกับวิธีที่ถูกต้องมากกว่าวิธีการผลัก แบบรวมโหมด โดยให้ค่าความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์เฉลี่ยตลอดความสูงอาคารเพียง 6.65%, 4.43%, 4.14%, 3.88% ส าหรับรูปแบบ Laboratory Type, ATC-24, ISO, SPD ตามล าดับ เมื่อเทียบกับค่า ความแตกต่างจากการผลักแบบโหมดที่ 1= 16.99% แบบรวม 2 โหมด = 8.84% แบบรวม 3 โหมด = 11.22%

สาเหตุที่ การผลักแบบวัฏจักรนี ้ให้ผลการเคลื่อนที่ใกล้เคียงกับวิธีที่ถูกต้อง เนื่องจาก การผลัก แบบวัฏจักร ท าให้องค์อาคารบางชิ ้นส่วนมีการเคลื่อนที่เกินจุดครากเป็นผลท าให้ค่าสติฟเนสลดลงตาม รอบการผลักที่มากขึ้นจากการเสื่อมลดก าลังต้านทานของโครงสร้างคอนกรีต

เป็นที่น่าสังเกตว่า การผลักแบบวัฏจักรไม่ได้ให้ผลการเคลื่อนที่มากกว่าการผลักแบบรวมโหมด ส าหรับทุกๆคลื่นแผ่นดินไหว บางคลื่นแผ่นดินไหว ได้แก่ LOMA-1, LOMA-4, MAM-2, NORTH-1, PARK-2 กลับให้ผลการผลักแบบวัฏจักรที่น้อยกว่าการผลักแบบรวมโหมดเล็กน้อย ทั้งนี ้เนื่องจาก คลื่น แผ่นดินไหว มีค่าความถี่ที่สอดคล้องกันกับค่าความถี่ธรรมชาติของโครงสร้าง ที่มาจากค่าสติฟเนสของ โครงสร้างส าหรับการผลักแบบรวมโหมดมากกว่า

อย่างไรก็ตาม การใช้เส้นโค้งขอบนอกในการพิจารณาหาค่าสติฟเนสของโครงสร้าง ควรค านึง พฤติกรรมภายใต้แรงกระท าแบบวัฏจักรมากกว่า เนื่องจากเป็นพฤติกรรมที่ใกล้เคียงกับแรงแผ่นดินไหว ซึ่งเป็นผลท าให้เกิดการเสื่อมลดค่าก าลังและค่าสติฟเนสของโครงสร้าง ซึ่งเป็นผลให้ค่าความสามารถใน การต้านทานการเคลื่อนที่ด้านข้างลดลง พฤติกรรมนี ้จะเห็นได้ชัดเจนในกรณีคลื่นแผ่นดินไหวที่มีความถี่

ในช่วงแบบแคบ (Narrowband ground motion) และมีระยะเวลาการสั่นยาวนาน ได้แก่ คลื่น แผ่นดินไหว LOMA-5, LOMA-6 ท าให้เกิดการสั่นในช่วงอินอิลาสติกหลายรอบ และมีค่าการเคลื่อนที่สูง เป็นผลให้ค่าการเคลื่อนที่ส าหรับการผลักแบบวัฏจักร มีค่าสูงกว่าผลของการผลักแบบรวมโหมดมาก

ส าหรับในกรณีที่ การศึกษาในโครงสร้างอื่น อาจพบว่าการผลักแบบรวมโหมดให้ผลค่าเฉลี่ยการ เคลื่อนที่มากกว่าค่าเฉลี่ยที่ถูกต้องจากวิธี NTHA จะท าให้ผลที่ได้จากการผลักแบบวัฏจักรมีแนวโน้ม มากกว่าค่าเฉลี่ยที่ถูกต้องจากวิธี NTHA ด้วย

0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 0

1 2 3 4 5 6 7 8 9

Inter Story Drift (%)

MPA ( 3 Modes ) CPA ( LAB Type )

NTHA Story

ภาพประกอบ 44 ค่าเฉลี่ยอัตราส่วนการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ระหว่างชั้นภายใต้คลื่นแผ่นดินไหวทั้ง 10 ชุด ส าหรับการผลัก Cyclic Pushover (LAB-Type)

0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

Inter Story Drift (%)

MPA ( 3 Modes ) CPA ( ATC-24 Type )

NTHA Story

ภาพประกอบ 45 ค่าเฉลี่ยอัตราส่วนการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ระหว่างชั้นภายใต้คลื่นแผ่นดินไหวทั้ง 10 ชุด ส าหรับการผลัก Cyclic Pushover (ATC-24 Type)

0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 0

1 2 3 4 5 6 7 8 9

Inter Story Drift (%)

MPA ( 3 Modes ) CPA ( ISO Type )

NTHA Story

ภาพประกอบ 46 ค่าเฉลี่ยอัตราส่วนการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ระหว่างชั้นภายใต้คลื่นแผ่นดินไหวทั้ง 10 ชุด ส าหรับการผลัก Cyclic Pushover (ISO Type)

0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

Inter Story Drift (%)

MPA ( 3 Modes ) CPA ( SPD Type )

NTHA Story

ภาพประกอบ 47 ค่าเฉลี่ยอัตราส่วนการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ระหว่างชั้นภายใต้คลื่นแผ่นดินไหวทั้ง 10 ชุด ส าหรับการผลัก Cyclic Pushover (SPD Type)

ตารางที่ 18 ค่าความคลาดเคลื่อนจากวิธี NTHA

ส าหรับค่าอัตราส่วนการเคลื่อนที่สัมพัทธ์สูงสุดของแต่ละชั้นอาคาร

Story Level

Cyclic Pushover Error (%)

Modal Pushover Error (%)

LAB ATC ISO SPD 1

Mode 2 Modes

3 Modes Roof

8 7 6 5 4 3 2 1 G

37.80 17.98 10.79 3.25 4.07 -7.00 -10.17 -10.00 -12.26 0

52.46 30.52 22.57 14.23 15.14 2.89 -0.61 -0.43 -2.93 0

50.07 28.48 20.65 12.44 13.34 1.28 -2.17 -1.99 -4.46 0

47.32 26.12 18.44 10.38 11.26 -0.57 -3.96 -3.79 -6.21 0

22.55 4.92 -1.47 -8.18 -7.44 -17.29 -20.11 -19.96 -21.97 0

75.56 28.38 -7.54 -31.05 -27.82 -22.01 -7.64 3.75 7.96 0

92.97 22.21 -13.57 -25.37 -26.29 -29.21 -10.90 10.44 21.40 0

ตารางที่ 19 ค่าเฉลี่ยของความคลาดเคลื่อนจากวิธี NTHA

ส าหรับค่าอัตราส่วนการเคลื่อนที่สูงสุดของแต่ละชั้นอาคาร

Mean Cyclic Pushover Modal Pushover

LAB ATC ISO SPD 1

Mode 2 Modes

3 Modes Mean Error

over NTHA (%)

14.77 22.97 21.04 22.70 13.73 28.91 36.75

Mean Error under NTHA (%)

-9.86 -1.33 -2.87 -3.63 -13.78 -19.21 -21.07

Mean Absolute Error from NTHA (%)

12.59 15.76 14.99 14.23 13.77 23.52 28.04

จากภาพประกอบ 44-47 และตารางที่ 18-19 พบว่า การผลักแบบวัฏจักรให้ผลการประเมินค่า การเคลื่อนที่สัมพัทธ์สูงสุดของแต่ละชั้นอาคาร ซึ่งมีความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยตลอดความสูงอาคารเท่ากับ 12.59%, 15.76%, 14.99%, 14.23% ส าหรับรูปแบบ Laboratory Type, ATC-24, ISO, SPD ตามล าดับ อยู่ในเกณฑ์ที่ดีกว่าผลของการผลักแบบรวมโหมด ซึ่งให้ค่าความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยตลอด

ความสูงอาคาร ส าหรับการผลักแบบ 1 โหมด = 13.77% การผลักแบบ 2 โหมด = 23.52% การผลัก แบบ 3 โหมด = 28.04%

Garis besar

Dokumen terkait