• Tidak ada hasil yang ditemukan

1.3 บทบาทของโรงเรียนสาธิต

1.4 บทบาทหน้าที่ของอาจารย์โรงเรียนสาธิต

ตอนที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน 2.1 ความหมายของการวิจัย

2.2 ลักษณะการท าวิจัยของครู

2.3 การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน

2.4 ลักษณะส าคัญของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน

2.5 ความแตกต่างระหว่างการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนกับการวิจัยเชิงวิชาการ ตอนที่ 3 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับสมรรถนะ

3.1 แนวคิดและหลักการที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะ 3.2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะ

3.3 ความหมาย องค์ประกอบของสมรรถนะด้านการวิจัย 3.4 สมรรถนะด้านการวิจัยของครู

ตอนที่ 4 แนวคิดเกี่ยวกับการวัดประเมินฐานสมรรถนะ 4.1 แนวคิด ความหมายและความส าคัญ

4.2 ลักษณะส าคัญของการวัดประเมินฐานสมรรถนะ 4.3 ประเภทของการวัดประเมินฐานสมรรถนะ 4.4 กระบวนการของการวัดประเมินฐานสมรรถนะ 4.5 แนวทางการวัดประเมินฐานสมรรถนะฐานสมรรถนะ

ตอนที่ 5 แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบ 5.1 แนวคิด และหลักการ

5.2 องค์ประกอบของรูปแบบ 5.3 ประเภทของรูปแบบ 5.4 คุณลักษณะของรูปแบบที่ดี

5.5 การตรวจสอบรูปแบบ 5.6 การพัฒนารูปแบบ ตอนที่ 6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

6.1 งานวิจัยภายในประเทศ 6.2 งานวิจัยต่างประเทศ ตอนที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับโรงเรียนสาธิต

1.1 แนวคิด ความหมายและความส าคัญของโรงเรียนสาธิต

เดวิท สเนวโกรฟ David Snelgrove (2007, pp. 85-90) ได้ศึกษารูปแบบการจัด การศึกษาของโรงเรียนสาธิต โดยศึกษาความคิดเห็นผู้บริหาร ครูและผู้ปกครอง เกี่ยวกับการ ด าเนินงาน พบว่า

1. มีการด าเนินการจัดการศึกษาครบถ้วนตามหลักสูตรที่กระทรวงก าหนด 2. ด าเนินการพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการเรียนการสอนให้เด็กมีความรู้

ทักษะเจตคติคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ให้เกิดพัฒนาการที่เหมาะสมกับ ร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ที่มีความเหมาะสม ใช้

องค์ความรู้จากการวิจัย ที่ช่วยพัฒนานวัตกรรมมาใช้บริหารจัดการการศึกษา

3. ด าเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและวิจัยทางการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนา บุคลากรให้มีความรู้ มีความสามารถ และพัฒนาโรงเรียนให้เป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

ส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณธรรม เพื่อน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันพัฒนาการเรียนการสอนโดย ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเน้นการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

อีริน บูมกาทเนอร์และคณะ Erin Baumgartner et al. (2011, pp. 1-11) ศึกษา บทบาทของโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยฮาร์วาย โดยศึกษาจากผู้บริหารครูโรงเรียนสาธิต พบว่า

1. เป็นสถานศึกษาที่ใช้ทดลองและท าการวิจัยเพื่อความเป็นต้นแบบในด้านการ จัดการเรียนการสอน เพื่อน าไปสู่การพัฒนาการเรียนการสอนและผู้น าการจัดการศึกษาตั้งแต่

ระดับปฐมวัยถึงมัธยมศึกษา ผลิตและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ

2. การศึกษาคือการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม โดยน าเทคโนโลยีและสาร สารสนเทศที่เหมาะสมมาใช้จัดการเรียนการสอนกับผู้เรียน

3. เป็นสถานที่ฝึกงานของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ ช่วยสนับสนุนและส่งเสริม การนิเทศและประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาครู เพื่อผลิตครูที่มีคุณภาพ

4.ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถได้เต็มตามศักยภาพ มี

ความสามารถทั้งทางด้านกีฬา ดนตรี และเทคโนโลยี

5. การด าเนินการให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชนและสังคม

อูแบงค์ Eubank (2007, pp. 87-93) ศึกษาการจัดโครงสร้างองค์กรของโรงเรียน สาธิตในสถาบันผลิตครู พบว่าโรงเรียนสาธิตควรมีผู้บริหารฝ่ายต่างๆ ดังนี้ ฝ่ายวิชาการ ฝ่าย นโยบายและแผน ฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา ฝ่ายกิจการพิเศษ ฝ่ายที่ก ากับดูแลและติดต่อกับ ผู้ปกครองและและชุมชน ส าหรับการด าเนินงานในโรงเรียน มีดังนี้ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผ่านกระบวนการวิจัย ต่อยอดสู่การสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา จัดห้องเรียนให้เป็นห้องฝึก ปฏิบัติการของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนอกหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง เป็นสถานที่ทดลองและวิจัยทางการศึกษา

โอวา Owa (2008, pp. 32-37) ศึกษาการบทบาทของโรงเรียนสาธิตของวิทยาลัยออ เรนท์โคช พบว่า โรงเรียนเน้นการจัดการศึกษาผ่านกระบวนการเรียนรู้ โดยให้ความส าคัญแก่

ผู้เรียน บนพื้นฐานแห่งคุณธรรม เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสมบูรณ์พร้อมทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และมีความสุขที่จะอยู่ร่วมกับบุคคลอื่น ๆ ในสังคมได้ ส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้พัฒนาความสามารถของตนได้เต็มตามก าลังความสามารถ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก และส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทักษะใช้ชีวิต เพื่อใช้ประกอบอาชีพในอนาคตได้ เป็นแหล่งฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครูของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์เพื่อพัฒนาครูที่มีคุณภาพ และเป็นสถานที่

ที่ค านึงถึงการอยู่ร่วมกันของสังคมและชุมชนโดยส่งเสริมและสนับสนุนการให้บริการวิชาการ ฮักซ์ Hughes (2008, pp. 83-88) ศึกษาบทบาทของโรงเรียนสาธิตในการเป็น ห้องปฏิบัติการ พบว่า โรงเรียนมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ทั้งการจัดการเรียนการสอน ภาพลักษณ์ของ โรงเรียน จรรยาบรรณ การจัดสภาพแวดล้อม การสร้างชื่อเสียงเพื่อให้เป็นที่ยอมรับ โดยการ วางแผนและด าเนินการ ดังนี้

1. การฝึกประสบการณ์ของนักศึกษาท าให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจจาก ประสบการณ์จริง เพื่อน าความรู้และแนวทางฝึกปฏิบัติไปใช้ประกอบอาชีพครู

2. มีการใช่ผลการวิจัย และน าผลการวิจัยที่ได้ไปพัฒนาหรือจัดการเรียนการสอน เพื่อสร้างนวัตกรรมทางศึกษาเป็นประโยชน์ในวงวิชาการ

3. เพื่อผลิตผู้เรียนที่มีคุณภาพ เป็นคนเก่ง คนดี มีคุณธรรม มีความรู้จะ สอบแข่งขันในระดับที่สูงขึ้น และมีความสามารถที่จะใช้ประกอบอาชีพในอนาคตได้

4. มีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ พัฒนาทักษะและ กระบวนการคิด น าเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ต่อเรียนการสอน และการจัดการศึกษาในโรงเรียน

5. มีการจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้ สร้างพื้นที่ที่เป็นแหล่ง ปฏิบัติการด้านค้นคว้า ทดลองและวิจัยทางการศึกษา

6. มีการจัดการประกันคุณภาพทางการศึกษา เพื่อเป็นหลักประกันของการจัด การศึกษาที่มีคุณภาพ

บุญเจริญ บ ารุงชู (2536) ได้ศึกษารูปแบบที่เหมาะสมต่อบริหารโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พบว่า

1. วัตถุประสงค์ของโรงเรียน เป็นสถานที่ทดลอง วิจัย พัฒนาเทคนิคหลักสูตร และสนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาบัณฑิตครูที่มีคุณภาพ โดยเป็นสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

2. นโยบายของโรงเรียน จะส่งเสริมและสนับสนุนการฝึกงานของนักศึกษา ส่งเสริมการผลิตนักเรียนให้มีคุณธรรม มีความเป็นประชาธิปไตย และรักษ์ศิลปวัฒนธรรม

3. สายการบริหารของโรงเรียนสาธิตกับคณะศึกษาศาสตร์ ควรมีความเป็นอิสระ การบริหารงาน

4. คณะกรรมการบริหารโรงเรียนสาธิต ควรมีหน้าที่ให้ค าปรึกษา แนะน าในด้าน การบริหารจัดการโรงเรียนสาธิตให้กับผู้อ านวยการ

5. คุณสมบัติของผู้อ านวยการโรงเรียน ควรเป็นผู้ที่มีความสามารถในงาน วิชาการ งานกิจการนักเรียน งานบริหารงบประมาณ มีความรู้ความเข้าใจปรัชญาการศึกษา และ นโยบายของคณะ และมหาวิทยาลัย

6. อ านาจหน้าที่ของผู้อ านวยการ คือ ควบคุม ดูแล ประสานงาน รับผิดชอบงาน ทั้งหมดของโรงเรียน เป็นกรรมการคณะโดยต าแหน่ง ปฏิบัติงานตามแผน ติดตามการ ประเมินผล การปฏิบัติงานให้เป็นไปตามระเบียบ

7. สถานภาพของอาจารย์โรงเรียนสาธิต ควรมี ส่งเสริมและสนับสนุน ความก้าวหน้าทางวิชาการและควร ได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตเอกสาร ต ารา วิชาการ หรือการเข้าร่วมอบรม ศึกษาต่อ เพื่อพัฒนาตนเอง

8. การบริหารงบประมาณของโรงเรียนสาธิต ควรมีการจัดตั้งสมาคม เช่น สมาคมผู้ปกครองและครู สมาคมศิษย์เก่า เพื่อให้โรงเรียนมีงบประมาณสนับสนุนการเรียนการ สอน

1.2 ความเป็นมาของโรงเรียนสาธิต

ความเป็นมาของโรงเรียนสาธิตมีปัจจัยหลายประการที่มีผลต่อแนวความคิดจัดตั้ง โรงเรียนสาธิต ต่อการจัดรูปแบบของโรงเรียนส าหรับการฝึกหัดครูในสหรัฐอเมริกา ซึ่งแต่ละ โรงเรียนมีอุดมการณ์และวิธีการเฉพาะของแต่ละสถาบัน ซึ่งมีความส าคัญส าหรับสถาบันการ ฝึกหัดครูของไทยเพื่อปรับปรุงวิชาชีพครูในด้านของสถานที่ปฏิบัติวิชาชีพครู ท าการทดลองวิจัย ค้นคว้าเพื่อท าให้ความเป็นวิชาการศึกษาได้ก้าวหน้าและยังเป็นที่แสดงให้เป็นตัวอย่างแก่บุคคล ทั่วไปโดยเฉพาะค าว่า “สาธิต หรือ Demonstration” มีความหมายในลักษณะของการค้นพบและ แสดงให้เห็นถึงความส าเร็จ ภายใต้นโยบายพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509) ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514) และฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) ด้วยหลักการ และเหตุผลการจัดตั้งโรงเรียนสาธิตในสถาบันฝึกหัดครูให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาประเทศ เพื่อท า หน้าที่ประสานทฤษฎีและการปฏิบัติด้วยการใช้โรงเรียนสาธิตเป็นแหล่งฝึกปฏิบัติเพื่อเสริมสร้าง ประสบการณ์วิชาชีพครูให้แก่ นักศึกษาในขณะเดียวกันโรงเรียนสาธิตเป็นศูนย์กลางในทาง วิชาการ เป็นแหล่งศึกษาของครูซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าในทางวิชาการให้ก้าวหน้า และเป็นต้นแบบการจัดการศึกษาและการบริการทางวิชาการด้านต่างๆให้กับโรงเรียนในท้องถิ่น หรือใกล้เคียง ดังนั้นการจัดตั้งโรงเรียนสาธิตจึงมีการขยายทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเพิ่มขึ้น โดยสังกัดสังกัดทบวงมหาวิทยาลัยและสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ (ธีรนันท์ ชูเชิด, 2547, น. 27 อ้างถึงใน สันติ สุขสัตย์, 2561, น. 25) ระบบการศึกษาไทยในอดีตที่ผ่านมา ได้รับการวางรากฐาน และได้รับความช่วยเหลือด้านการศึกษาสมัยใหม่จากชาติตะวันตก เนื่องจากยังไม่สามารถพึ่งพิง ตนเองได้ ท าให้ต้องส่งบุคลากรไปดูงานหรือศึกษาต่อในต่างประเทศ เช่น การส่งนักเรียนไปศึกษา ต่อที่ประเทศอังกฤษ การจัดตั้งคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดจัดตั้งโรงเรียน สาธิตเพื่อใช้เป็นสถานที่ทดลอง ค้นคว้าวิจัยทางการเรียนการสอนก็ได้รับแนวคิดจากต่างประเทศ เช่นกัน

Dokumen terkait