• Tidak ada hasil yang ditemukan

ความไมชัดเจนและขอทับซอนของกฎหมาย

ทบทวนวรรณกรรม

2. ปจจัยทางดานการเมือง นโยบายรัฐบาล และกฎหมาย

2.4 ความไมชัดเจนและขอทับซอนของกฎหมาย

3. ปจจัยดานการเงิน 3.1 ตนทุนของการติดตั้งและบํารุงรักษาระบบผลิตไฟฟาจาก พลังงานแสงอาทิตย

3.2 มาตรการสงเสริมและการจูงใจรับซื้อไฟฟาในอัตราเพิ่มพิเศษ การใหสิทธิพิเศษทางภาษี (Investment Tax Credit, ITC) 3.3 ความสามารถในการเขาถึงแหลงทุนและการใหสินเชื่อ ดอกเบี้ยต่ํา

3.4 การเปลี่ยนแปลงของอัตราการแลกเปลี่ยน (Exchange Rate Volatility)

4. ปจจัยดานสังคมและ สิ่งแวดลอม

4.1 การสรางมาตรฐานทางดานพลังงานทดแทน 4.2 การพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพชีวิต 4.3 การยอมรับของคนในสังคม

4.4 เกิดการจางงานในชุมชน

3. ออกแบบโครงสรางลําดับชั้นในการตัดสินใจติดตั้งระบบผลิตไฟฟาจากพลังงาน แสงอาทิตย และออกแบบแบบสอบถามใหมีความเหมาะสมและครอบคลุมเนื้อหา

ภาพที่ 3.2 แสดงลําดับชั้นปจจัยหลักและปจจัยรองที่เปนอุปสรรคตอติดตั้งระบบผลิตไฟฟาจาก พลังงานแสงอาทิตย

4. สอบถามผูเชี่ยวชาญที่เกี่ยวของในอุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตยไดแกผูบริหาร นักวิชาการ ขาราชการ ผูชํานาญงานอื่น ๆ เพื่อทบทวนวาการออกแบบลําดับชั้น ปจจัยหลัก และปจจัย รองในการติดตั้งระบบผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยนั้นครบถานและถูกตอง

5. วิเคราะหและเก็บขอมูล เพื่อทําการเปรียบเทียบและหาน้ําหนักของแตละปจจัยโดย ในขั้นตอนนี้จะเปนการสอบถามความคิดเห็นจากผูบริหาร นักวิชาการ ขาราชการ ผูชํานาญงานอื่น ๆ โดยการทําการคัดเลือกผูเชี่ยวชาญในดานตาง ๆ ที่มีความเกี่ยวของที่เกี่ยวของ

6. ทําการสัมภาษณ ซึ่งการสัมภาษณเปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชการสนทนา ซักถามและโตตอบแบบเผชิญหนาระหวางผูสัมภาษณกับผูใหสัมภาษณ และผูสัมภาษณมีการเก็บ ขอมูลเพื่อใหไดขอเท็จจริงที่ตองการแลวจึงนํามาพิจารณาสรุปผลตามปญหาการวิจัยที่กําหนด โดย รูปแบบ/โครงสรางแบบสัมภาษณ (Kerlinger and Lee, 2000; ยุทธ ไกยวรรณ, 2550) ไดทําการวิจัย เกี่ยวกับประเภท รูปแบบ และโครงสรางในการสัมภาษณ 3 รูปแบบคือ

การสัมภาษณแบบที่มีโครงสราง (Structured Interview) เปนการสัมภาษณที่ใช

แบบสัมภาษณที่สรางขึ้นมา เพื่อใชเปนกรอบของคําถามในการสัมภาษณที่เหมือนกันกับผูใหสัมภาษณ

แตละคนหรือกลุม แบบสัมภาษณมีประเด็นคําถามที่กําหนดขึ้นไวในการสนทนาอยางเปนขั้นเปนตอน หรือมีการเรียงลําดับกอนหลังในการสัมภาษณไวเปนอยางดีจนถึงคําถามสุดทาย เปนวิธีการที่งายสําหรับ การนําผลที่ไดมาวิเคราะหขอมูลและเหมาะสมกับผูสัมภาษณที่ยังไมมีประสบการณมากเพียงพอ

การสัมภาษณแบบที่ไมมีโครงสราง (Non-Structured interview) เปนการสัมภาษณ

ที่ใชเพียงประเด็นหรือหัวขอที่กําหนดขึ้นมาอยางกวาง ๆ เพียงประเด็นหลัก ๆ สวนประเด็นยอยมี

การเพิ่มเติมระหวางการสนทนา โดยผูสัมภาษณสามารถเปลี่ยนแปลงไดตามสถานการณ ไมมี

การเรียงลําดับคําถามไวแนนอนตายตัว ไมจําเปนตองถามคําถามเหมือนกันทุกคน ทําใหเกิดความยืดหยุน และเปดกวางมากกวาแบบสัมภาษณที่มีโครงสราง ทําใหไดขอมูลที่หลากหลายและลึกซึ้งในการนํามา พิจารณา

การสัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง (Semi-structured) เปนการสัมภาษณที่ใชประเด็น คําถามที่มีกรอบกวางๆ หรือเปนการใชคําถามปลายเปดในการซักถาม โดยอาจมีแนวทางคําถามไว

เปนแนวทาง สัมภาษณไวบาง เหมาะกับผูวิจัยที่มีประสบการณไมมากนัก โดยผูสัมภาษณสามารถ เปลี่ยนแปลงไดตามสถานการณ ทําใหเกิดความยืดหยุนและเปดกวางมากกวาแบบสัมภาษณที่มีโครงสราง แตยังมีมีประเด็นคําถามที่กําหนดขึ้นไวในการสนทนาอยางเปนขั้นเปนตอนหรือมีการเรียงลําดับ กอนหลังในการสัมภาษณ

ดังนั้นผูวิจัยจึงใชวิธีการสัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง (Semi-Structured Interview) ตามแตละหัวขอปจจัย เพื่อใหการสัมภาษณนั้นมีความยืดหยุนตามผูเชี่ยวชาญและสถานการณที่เกิดขึ้น และการสัมภาษณแบบกึ่งโครงสรางนี้เหมาะสําหรับงานวิจัยที่ตองการเปรียบเทียบขอมูลจากผูเชี่ยวชาญ หลาย ๆ ทาน ซึ่งมีความรูและประสบการณที่แตกตางกัน เพื่อประกอบขอมูลที่ไดจากการวิเคราะห

ตามลําดับชั้น (Analytic Hierarchy Process, AHP) ไดครบถวนสมบูรณมากขึ้น

7. ประเมินคาความสอดคลองของการตัดสินใจในลําดับของปจจัยทางเลือก โดยใช

โปรแกรม Excel ในการวิเคราะหความสําคัญของความสัมพันธของเกณฑการประเมิน (การถวงน้ําหนัก) จะใชวิธีการคือ การนําแตละเกณฑปจจัยมาเปรียบเทียบกันและจัดลําดับความสําคัญโดยการถวงน้ําหนัก ดังตาราง จากนั้นจึงทําการวิเคราะหหรือการใหคะแนน แลวจึงคํานวณหาคาน้ําหนักที่ใหแตละเกณฑ

จากคาน้ําหนักและผลที่ไดทําการวิเคราะหเปรียบเทียบจากนั้นจึงทําการวิเคราะหความออนไหวตอ การเปลี่ยนแปลงคะแนนหรือน้ําหนัก

8. วิเคราะห สรุปผลการศึกษาปจจัยที่เปนอุปสรรคตอการติดตั้งระบบผลิตไฟฟาจาก พลังงานแสงอาทิตยโดยใชกระบวนการวิเคราะหตามลําดับชั้น (Analytic Hierarchy Process, AHP)

และขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง (Semi-Structured Interview) แลวทําการจัดทํา ขอเสนอแนะแกภาครัฐและภาคธุรกิจ