• Tidak ada hasil yang ditemukan

คุณสมบัติของแมบาน

1.

แมบานสวนมากมีอายุระหวาง 27 – 32ป และมีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปที่ 3 จํานวนถึง 50%

2.

กอนเขาทํางานกับชาวตางชาติแมบานสวนมากคิดวาตัวเองมีความสามารถทางดานภาษาอังกฤษระดับ พอใชได และมีทักษะการพูดดีกวาทักษะอื่นๆ

3.

หลังจากมาทํางานในบานของชาวตางชาติระยะหนึ่งแมบานสามารถพัฒนาทักษะการฟงดีขึ้นระดับปาน กลาง สามารถฟงคําสั่งนายจางเขาใจ หรือรับโทรศัพทเปนภาษาอังกฤษได

4.

ทักษะในการพูดภาษาอังกฤษอยูในระดับนอยโดยมีความสามารถบอกทิศทางแกชาวตางชาติระดับนอย สุด

5.

แมบานมีทักษะการอานระดับนอย แตก็สามารถอานขอความที่นายจางโนต สั่งงานไดระดับปานกลาง

6.

แมบานมีทักษะการเขียนระดับนอยที่สุดเพราะแมบานไมคอยไดเขียนในงานประจําของตัวเอง

การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยศรีปทุม ปการศึกษา 2551 วันที่ 13 สิงหาคม 2551

วิธีการเรียนรูภาษาอังกฤษของแมบาน

1.

แมบานสวนมากเรียนรูจากนายจางที่สอนใหอยางไมเปนระบบ เชนการสั่งงาน บอก คําศัพท หรือ ประโยคสั้นๆที่จําเปน และเรียนรูดวยตัวเองเชนการจดจําจากนายจาง การฝกฝนตัวเองในการใชภาษาอยางสนใจ เปนตน สวนที่ไปเรียนในศูนยการเรียนรูอยูในระดับนอย

2.

การเรียนรูของแมบานเปนการเรียนรูจากประสบการณตรง ( Direct experience) ซึ่งตรงกับทฤษฎีการ เรียนรู แบบเรียนจากประสบการณตรง (Direct Method) และ ทฤษฎีการเรียนรูเพื่อการไดสื่อสาร

(Communicative Approach) กลาวคือแมบานเรียนรูดวย การพูด ฟง อาน เขียนกับนายจาง ชาวตางชาติโดยตรง เปนประจําจนทําใหเกิดความมั่นใจและสามารถสื่อความกันได

3.

จากฐานขอมูลทางสถิติ เรื่องอายุมากนอย การศึกษามากนอย ประสบการณในการทํางานกับชาวตางชาติ

ไมใชตัวแปรที่สําคัญในการเรียนรูภาษาอังกฤษ แตเปนความสนใจ ความมุงมั่นในการพัฒนาตัวเองเปนเรื่อง สําคัญในการเรียนรูภาษาของแมบาน

คําสําคัญ: ภาษาอังกฤษของแมบานคนไทย การเรียนภาษาของแมบาน การสื่อสารของแมบานคนไทย

Abstract

The objectives of this research are to study how Thai housemaids working in foreigner’s houses who use English for communication improve their English competence. Researching is based on the learning theory of Direct Method and Communicative Approach

The samplings are 100 Thai housemaids working in the houses of American, British, Australian, New Zealand and some others, who use English for communication in Bangkok Metropolitan areas and urbanities.

The hypotheses of the research are about age, education, and working experience; that is to say, the younger, higher - educated and longer - working experienced should learn English more effectively than the opposites.

After having colleted and analyzed data with spss/pcc computer program, the results of the study are as follow:

Qualifications of Housemaids

1. The Housemaids mostly age between 27 – 32 and 50% educated in Matthayom 3.

2. Before working in foreigners’ houses, they thought their English competence is quite fare, especially speaking skills are better than others are.

3. Their listening skills are quite better in medium average after having spent some times working in foreigners’ houses. They quite understand their bosses’ orders and are able to receive telephone calls.

4. Speaking skills are quite poor, specially telling the directions to foreigners.

5. Reading skills are also poor. Anyway, to understand employers’ notes and orders is in medium average.

6. Thai housemaids writing skills are in the most minimum average because they hardly write anything in their routine work.

How Thai housemaids learn English

1. They mostly learn English unsystematically from their employers such as the boss’s orderings, some necessary vocabulary, and simple sentences; moreover, many of them try to learn by themselves by practicing some interesting words or sentence patterns and gradually improve their English competence. According to analyzed data, a few housemaids learn English in learning centers.

2. The way through which housemaids learn English is the same as the learning theory of Direct Method and Communicative approach; that is, they learn from the original learning sources by speaking, listening, reading and writing with their bosses until they feel confident and are able to communicate with their bosses.

3. According to analyzed statistical data, the set hypothesis about age, education and working experience about developing English competence of housemaids are not important factors but their intension, curiosity in developing themselves are the most important one.

Key words: Thai Housemaids’ English, Language learning of housemaids, Thai housemaids’ communication

1. บทนํา: ความสําคัญและที่มาของปญหา

แมบาน (Housemaid) ในที่นี้หมายถึงบุคคลที่ประกอบอาชีพทํางานบานใหแกนายจางชาวตางชาติที่พูด ภาษาอังกฤษเปนภาษาแรก (Mother Tongue) เชน ทําความสะอาดบาน ซักเสื้อผา ทําอาหาร และอื่นๆเกี่ยวกับงาน บานตามที่นายจางไดกําหนดใหทํา คาจางสวนมากจะไดรับเปนรายเดือนหรือรายสัปดาหตามแตจะตกลงกัน โดยทั่วไปจะพักอยูกับนายจาง มีบางสวน เชาบานอยูเอง บุคคลเหลานี้เกือบทั้งหมดมาจากครอบครัวที่ยากจน สวนมากมีอาชีพเปนเกษตรกรที่ยากไร ไมมีที่ทํากินเปนของตัวเอง สวนมากมีอาชีพรับจางตามแตจะมีใหทํา สาเหตุมาจากพอแมมีลูกหลายคน หรือฐานะทางครอบครัวยากจนมีหนี้สินรุงรัง พอแมไมสามารถสงใหลูกเรียน หนังสือในระดับสูงขึ้นได สวนมากก็จะจบเพียงระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( Primary School) แลวก็ลาออกจาก โรงเรียนมาชวยพอแมทําไรทํานา หรือรับจางทั่วไป ความรูก็เพียงอานออกเขียนไดบาง ครั้นสภาพความจําเปน ทางเศรษฐกิจบีบบังคับ จึงไดออกจากบานเขาสูเมืองเพื่อหางานทํา เชนเปนเด็กทํางานในรานอาหาร หรือทํางาน รับใชในบานที่มีเจานายเปนคนไทย หรือ เปนชาวตางชาติเปนตน

สําหรับแมบานที่ทํางานในบานของเจานายคนไทย จะไมมีปญหาดานการสื่อสาร เพราะพูดภาษาเดียวกัน แตแมบานที่ทํางานกับนายจางชาวตางชาติที่พูดภาษาอังกฤษเปนภาษาแรก จะมีปญหาในดานการสื่อสารกันมาก เพราะนายจางจะสื่อสารดวยภาษาอังกฤษ และแมบานไมสามารถสื่อสารกันได สิ่งที่นาสนใจก็คือพวกเธอทํา อยางไรจึงสามารถพัฒนาตัวเองเพื่อสื่อสารกับนายจางไดในเวลาตอมา ทั้งๆที่นายจางก็ไมไดสอนภาษาอังกฤษให

เปนพิเศษ หรือถาจะสอนบางก็เปนบางคํา ซึ่งเปนคํางายๆพอสื่อกันได และก็ไมไดอธิบายถึงกฎเกณฑภาษา เหมือนการสอนในหองเรียนในโรงเรียน แตในเวลาไมนานนักแมบานก็จะสามารถพูดไดเปน คํา วลี ประโยค สั้นๆ หรืออาจจะพูดไดเปนเรื่องราว คําถามก็คือการเรียนรูเกิดขึ้นไดอยางไร ถาจะเปรียบกับนักศึกษาใน

ระดับอุดมศึกษาบางคนที่ไดเรียนภาษาอังกฤษมาตั้งแตชั้นอนุบาลจนถึงอุดมศึกษาเปนระยะเวลาเกือบมากกวาสิบ

การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยศรีปทุม ปการศึกษา 2551 วันที่ 13 สิงหาคม 2551

ป แตไมสามารถสื่อความเปนภาษาอังกฤษใหชาวตางชาติเขาใจได เหลานี้คือปญหาสําคัญที่นักการศึกษานาจะหา คําตอบและหาแนวทางในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนภาษาอังกฤษใหนักศึกษาในระบบใหสามารถ พัฒนากระบวนการเรียนรูภาษาอังกฤษอยางมีประสิทธิภาพจนสามารถใชภาษาอังกฤษไดอยางดียิ่งกวาที่เปนอยู

ในปจจุบัน

การสอนภาษาอังกฤษนั้นมีหลายวิธี (Approaches) และนํามาใชสอนโดยผานกระบวนการเรียนรูใน สถาบันการศึกษา (Formal Education) ซึ่งเริ่มตั้งแตชั้นอนุบาลจนถึงระดับปริญญาเอก การสอนภาษาอังกฤษนั้นที่

ผานมาในประเทศไทยนิยมสอนเนนการเรียนรูกฎไวยากรณ (Traditional Grammar Approach) เปนหลัก ซึ่งใน ความเปนจริงในการเรียนรูภาษานั้นไมเพียงพอ เพราะยังมีหลายสิ่งหลายอยางที่นอกเหนือกฎไวยากรณ

(Varshney. 1997:202) ปรากฏวาการเรียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาไทยไมประสบความสําเร็จเทาที่ตองการ นักศึกษาอาจจะสามารถเขาใจกฎเกณฑของภาษาดีและเขียนไดบาง แตนักศึกษาสวนมากไมสามารถใช

ภาษาอังกฤษสื่อสารกับชาวตางชาติได ตามหลักการการเรียนรูภาษาทุกภาษา ตองเรียนรูดวย การบูรณาการทักษะ ภาษา (Language Skills) ทั้ง 4 คือฟง พูด อาน เขียน ดวยการฝกฝนมากๆและทําบอยๆ จนเกิดความชํานาญ ( Fluent ) เหมือนเด็กเล็กหัดเรียนภาษาจากแมหรือพี่เลี้ยง (Language Acquisition) ซึ่งตองอาศัยเวลาและความ พยายามพอสมควรจึงจะสามารถใชภาษาเพื่อสื่อความได ตอมากระบวนการเรียนรูในหองเรียนไดปรับเปลี่ยนไป ตามสภาพและความเหมาะสมตามความเชื่อวากระบวนการเรียนรูที่เลือกนํามาใชนั้นๆจะสามารถทําใหการเรียนรู

ภาษาอังกฤษของเด็กไทยไดดีขึ้น หนึ่งในกระบวนการเรียนรูที่นํามาใชนั้นก็คือการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communicative Approach to Language Teaching) ซึ่งเปนวิธีการสอนดวยเนนทักษะการพูดเปนสําคัญ ไมเนน การเรียนกฎเกณฑของภาษา และเนนเรื่องกิจกรรมปฏิสัมพันธ (Interactive Activities) ในการเรียน นอกจาก กระบวนการเรียนตามที่กลาวมาแลวนั้น ในการเรียนภาษาอังกฤษนั้นยังมีการเรียนรูอีกหลายรูปแบบเชนการเรียน ดวยตัวเองหรือเรียนตามอัธยาศัย (Informal Learning) ซึ่งเปนการเรียนรูดวยตัวผูเรียนเอง เชนเรียนจากการสื่อ ภาษาอังกฤษตางๆ แลวนํามาฝกฝนดวยตัวเองหรือเขาเรียนตามศูนยสอนภาษาทั่วไป หรือเรียนดวยการฟง การพูด จดจําทาทาง และฝกฝนเองเหมือนแมบานคนไทยที่ทํางานในบานของชาวตางชาติที่พูดภาษาอังกฤษเปนภาษาแรก หรือนายจางตางชาติ ชาติอื่นๆที่ใชภาษาอังกฤษสื่อสารกับแมบาน

ภาษาอังกฤษเพื่อสื่อความ คือแมบานหลังจากไดฟงและสังเกตจากทาทางการสื่อความ (Body Language) ของนายจางแลว ก็จดจําและนํามาฝกปรือดวยตัวเองและตอมาก็ใชสื่อสารกับนายจาง เมื่อนายจางไมเขาใจหรือ แมบานใชผิดความหมาย นายจางก็จะบอกหรือสอนใหใชใหถูกตอง และเมื่อแมบานสามารถสื่อสารไดพอสมควร นายจางก็ปลอยใหฝกฝนดวยตัวเองจนมีความชํานาญมากขึ้นเรื่อยๆ

กระบวนการเรียนรูของแมบานดังกลาวมานี้จึงเปนสิ่งที่นาสนใจ และนาศึกษาเปนอยางยิ่ง ไมวาจะเปนการ เรียนรูดวยการสื่อสาร หรือ การเรียนรูตามธรรมชาติ อันเกิดจากการสังเกต จดจําและหมั่นฝกฝนดวยตัวเองจน สามารถใชภาษาสื่อความหมายไดบรรลุจุดประสงค ตรงกันขามกับการเรียนรูจากกระบวนการเรียนรูในหองเรียน ซึ่งใชเวลานานกวา แตบางคนไมสามารถใชภาษาใหบรรลุจุดประสงคได หากไดมีการพัฒนาหลักสูตรโดยมีการ ประยุกตระหวางการเรียนรูแบบธรรมชาติประยุกตกับกระบวนการเรียนรูในหองเรียนที่ใชกันอยูในปจจุบัน ก็

อาจจะเปนแนวทางในการพัฒนาศักยภาพดานภาษาใหแกนักศึกษาใหดีขึ้นได