• Tidak ada hasil yang ditemukan

สังเคราะห์ องค์ประกอบ การส่งเสริมองค์กรแห่งการเรียนรู้/ชุมชนแห่งการเรียนรู้

73

74 ตาราง 4 (ต่อ)

องค์ประกอบการส่งเสริมองค์กรแห่งการเรียนรู้/ชุมชน แห่งการเรียนรู้

Jalongo. Bennett and O. Brien Senge’ ช่อฟ้า สุประดิษฐ์ ณ อยุธยา ทศพร ประเสริฐสุข รวคนธ์ สรโชติ

19. การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน √ √ √

20. การเรียนรู้เป็นทีม √ √

21. ความเชี่ยวชาญของบุคลากร √

22. การสร้างสรรค์สิ่งใหม่เพื่ออนาคตใหม่ √

23. มุ่งสู่ความเป็นเลิศ

24. การวิเคราะห์สภาพการณ์ในปัจจุบัน 25. การก าหนดกลยุทธ์

26. การก าหนดแผนงานที่ชัดเจน 27. พัฒนาพื้นฐานองค์กรแห่งการเรียนรู้

28. พัฒนาบุคลากรในระดับผู้น าองค์กร

29. มอบหมายพันธกิจ (Mission) √

30. สร้างวัฒนธรรมด้านการพัฒนาและปรับปรุง งานให้ดีขึ้นอยู่ตลอดเวลา

31. การเรียนรู้ระดับบุคคล 32. ส ารวจสภาพปัจจุบัน 33. ด าเนินงานตามแผน

34. การบริหารเพื่อความมีประสิทธิภาพของโรงเรียน 35. การบริหารที่เป็นผู้น าแห่งการเปลี่ยนแปลง

36. ให้ความส าคัญกับการบริหารหลักสูตรและการสอน

75 ตาราง 4 (ต่อ)

องค์ประกอบการส่งเสริมองค์กรแห่งการเรียนรู้/ชุมชน แห่งการเรียนรู้

เดชน์ เทียมรัตน์ ; และกานต์สุดามาฆะศิรานนท์ วัลลภ ค าพาย ประเวศน์ มหารัตน์สกุล ปาริฉัตต์ ศังขะนันทน์ วิโรจน์ สารรัตนะ ธงชัย สมบูรณ์

1. การมีโอกาสเสวนาใคร่ครวญระหว่างกัน √

2. การลดความโดดเดี่ยวระหว่างปฏิบัติงานสอนของครู

3. การรวมกลุ่มเพื่อมุ่งเน้นการเรียนรู้ของนักเรียน 4. สร้างจุดเริ่มต้นแห่งความร่วมมือร่วมใจ 5. ท าการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 6. กลยุทธ์/ยุทธศาสตร์องค์กร 7. การปฏิบัติของผู้บริหาร

8. การปฏิบัติของผู้จัดการ หรือผู้สนับสนุน 9. ประเพณีปฏิบัติขององค์กร

10. องค์การหรือโครงสร้างของงานโครงสร้างองค์กร 11. การหมุนเวียนของข้อมูลองค์กรการน าเทคโนโลยีมา

ใช้ในการหาและกระจายข้อมูล

12. การตรวจสอบ การประเมินผล √ √ √

13. เป้าหมายการปฏิบัติงานประเด็นส าคัญขององค์กร 14. การอบรมและการศึกษา

15. การพัฒนาบุคลากรและทีมองค์กร

16. การให้รางวัลรางวัลและการสร้างเงื่อนไขเกื้อกูล √

76 ตาราง 4 (ต่อ)

องค์ประกอบการส่งเสริมองค์กรแห่งการเรียนรู้/ชุมชน แห่งการเรียนรู้

เดชน์ เทียมรัตน์ ; และกานต์สุดามาฆะศิรานนท์ วัลลภ ค าพาย ประเวศน์ มหารัตน์สกุล ปาริฉัตต์ ศังขะนันทน์ วิโรจน์ สารรัตนะ ธงชัย สมบูรณ์

17. การเป็นบุคคลที่รอบรู้

18. การมีรูปแบบวิธีความคิด √

19. การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน √

20. การเรียนรู้เป็นทีม √ √

21. ความเชี่ยวชาญของบุคลากร

22. การสร้างสรรค์สิ่งใหม่เพื่ออนาคตใหม่ √

23. มุ่งสู่ความเป็นเลิศ √

24. การวิเคราะห์สภาพการณ์ในปัจจุบัน √

25. การก าหนดกลยุทธ์ √ √

26. การก าหนดแผนงานที่ชัดเจน √

27. พัฒนาพื้นฐานองค์กรแห่งการเรียนรู้ √

28. พัฒนาบุคลากรในระดับผู้น าองค์กร √

29. มอบหมายพันธกิจ (Mission) √

30. สร้างวัฒนธรรมด้านการพัฒนาและปรับปรุงงานให้

ดีขึ้นอยู่ตลอดเวลา

31. การเรียนรู้ระดับบุคคล √

32. ส ารวจสภาพปัจจุบัน √

77 ตาราง 4 (ต่อ)

องค์ประกอบการส่งเสริมองค์กรแห่งการเรียนรู้/ชุมชน แห่งการเรียนรู้

เดชน์ เทียมรัตน์ ; และกานต์สุดามาฆะศิรานนท์ วัลลภ ค าพาย ประเวศน์ มหารัตน์สกุล ปาริฉัตต์ ศังขะนันทน์ วิโรจน์ สารรัตนะ ธงชัย สมบูรณ์

33. ด าเนินงานตามแผน √

34. การบริหารเพื่อความมีประสิทธิภาพของโรงเรียน √

35. การบริหารที่เป็นผู้น าแห่งการเปลี่ยนแปลง √ √

36. ให้ความส าคัญกับการบริหารหลักสูตรและการสอน √ 37. ให้ความส าคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ √

38. ออกแบบโครงสร้างขององค์กรโดยการลดระดับสาย การบังคับบัญชาให้น้อยลง

√ 39. ส่งเสริมให้บุคลากรกล้าคิดกล้าท ากล้าน าเสนอและ

กล้ายอมรับความผิดพลาดที่เกิดขึ้น

√ 40. ความรอบรู้แห่งตน

41. ด้านความเป็นเลิศส่วนบุคคล 42. การกระจายอ านาจ

43. เทคโนโลยีสารสนเทศและการศึกษา

44. การสร้างภาวะผู้น าร่วมและเป็นไปในทางสนับสนุน

78 ตาราง 4 (ต่อ)

องค์ประกอบการส่งเสริมองค์กรแห่งการเรียนรู้/ชุมชน แห่งการเรียนรู้

สมคิด ชุมนุมพร ธมลวรรณ พงษ์สถิตย์ สาโรจน์ แก้วอรุณ กมลลักษณ์ ส าราญสุข พิเชฐ เกษวงษ์ ความถี่

1. การมีโอกาสเสวนาใคร่ครวญระหว่างกัน 3

2. การลดความโดดเดี่ยวระหว่างปฏิบัติงานสอนของครู 1

3. การรวมกลุ่มเพื่อมุ่งเน้นการเรียนรู้ของนักเรียน 1

4. สร้างจุดเริ่มต้นแห่งความร่วมมือร่วมใจ 2

5. ท าการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 2

6. กลยุทธ์/ยุทธศาสตร์องค์กร 3

7. การปฏิบัติของผู้บริหาร 2

8. การปฏิบัติของผู้จัดการ หรือผู้สนับสนุน 1

9. ประเพณีปฏิบัติขององค์กร 1

10. องค์การหรือโครงสร้างของงานโครงสร้างองค์กร 1

11. การหมุนเวียนของข้อมูลองค์กรการน าเทคโนโลยีมา ใช้ในการหาและกระจายข้อมูล

2

12. การตรวจสอบ การประเมินผล 4

13. เป้าหมายการปฏิบัติงานประเด็นส าคัญขององค์กร 1

14. การอบรมและการศึกษา 1

15. การพัฒนาบุคลากรและทีมองค์กร 2

16. การให้รางวัล และการสร้างเงื่อนไขเกื้อกูล √ 4

17. การเป็นบุคคลที่รอบรู้ 2

18. การมีรูปแบบวิธีความคิด √ √ √ √ 6

19. การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน √ √ √ 9

20. การเรียนรู้เป็นทีม √ √ √ 8

21. ความเชี่ยวชาญของบุคลากร 1

79 ตาราง 4 (ต่อ)

องค์ประกอบการส่งเสริมองค์กรแห่งการเรียนรู้/ชุมชน แห่งการเรียนรู้

สมคิด ชุมนุมพร ธมลวรรณ พงษ์สถิตย์ สาโรจน์ แก้วอรุณ กมลลักษณ์ ส าราญสุข พิเชฐ เกษวงษ์ ความถี่

22. การสร้างสรรค์สิ่งใหม่เพื่ออนาคตใหม่ √ 4

23. มุ่งสู่ความเป็นเลิศ 1

24. การวิเคราะห์สภาพการณ์ในปัจจุบัน 1

25. การก าหนดกลยุทธ์ 2

26. การก าหนดแผนงานที่ชัดเจน 1

27. พัฒนาพื้นฐานองค์กรแห่งการเรียนรู้ 1

28. พัฒนาบุคลากรในระดับผู้น าองค์กร 1

29. มอบหมายพันธกิจ (Mission) 2

30. สร้างวัฒนธรรมด้านการพัฒนาและปรับปรุงงานให้

ดีขึ้นอยู่ตลอดเวลา

√ 2

31. การเรียนรู้ระดับบุคคล 1

32. ส ารวจสภาพปัจจุบัน 1

33. ด าเนินงานตามแผน 1

34. การบริหารเพื่อความมีประสิทธิภาพของโรงเรียน 1

35. การบริหารที่เป็นผู้น าแห่งการเปลี่ยนแปลง 2

36. ให้ความส าคัญกับการบริหารหลักสูตรและการสอน 1

37. ให้ความส าคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1

38. ออกแบบโครงสร้างขององค์กรโดยการลดระดับสาย การบังคับบัญชาให้น้อยลง

1 39. ส่งเสริมให้บุคลากรกล้าคิดกล้าท ากล้าน าเสนอและ

กล้ายอมรับความผิดพลาดที่เกิดขึ้น

1

40. ความรอบรู้แห่งตน √ √ √ 3

80 ตาราง 4 (ต่อ)

องค์ประกอบการส่งเสริมองค์กรแห่งการเรียนรู้/ชุมชน แห่งการเรียนรู้

สมคิด ชุมนุมพร ธมลวรรณ พงษ์สถิตย์ สาโรจน์ แก้วอรุณ กมลลักษณ์ ส าราญสุข พิเชฐ เกษวงษ์ ความถี่

41. ด้านความเป็นเลิศส่วนบุคคล √ √ 2

42. การกระจายอ านาจ √ 1

43. เทคโนโลยีสารสนเทศและการศึกษา √ 1

44. การสร้างภาวะผู้น าร่วมและเป็นไปในทางสนับสนุน √ 1 แนวทางการส่งเสริมชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ

จากการสังเคราะห์ในตาราง 3 – 4 ผู้วิจัยได้แนวทางในการส่งเสริมชุมชนแห่งการเรียนรู้

เชิงวิชาชีพ ดังนี้การหาวิธีการกระตุ้น หรือสนับสนุนให้ครูมารวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เกี่ยวกับการแก้ปัญหา หรือพัฒนาผู้เรียนร่วมกัน โดยครูควรได้รับการส่งเสริมในด้านค่านิยม และ การมีวิสัยทัศน์ร่วม ด้านการเรียนรู้เป็นทีมด้านการพัฒนารูปแบบการคิดอย่างเป็นระบบ และด้าน การตรวจสอบ และประเมินผล โดยมีแนวทางการส่งเสริม ดังนี้

1. ด้านค่านิยม และการมีวิสัยทัศน์ร่วม

1.1 การใช้ประชามติ หรือการลงประชามติ (Referendums) 1.2 มีการประชุมร่วมกัน

1.3 ให้การสนับสนุนคณะท างานหรือกลุ่มท างาน 1.4 การวิพากษ์ วิจารณ์ วินิจฉัย อย่างกว้างขวาง 1.5 การสร้างจุดมุ่งหมายร่วมกัน

1.6 การแสดงความคิดเห็นบอกเล่าเรื่องราวจุดมุ่งหมายที่ต้องการ 1.7 การสร้างบรรยากาศกระตุ้นให้เกิดการสร้างสรรค์วิสัยทัศน์

1.8 พัฒนาวิสัยทัศน์ส่วนบุคคลให้เป็นวิสัยทัศน์ร่วม 1.9 สร้างทัศนคติต่อวิสัยทัศน์ในระดับความผูกพัน 1.10 สื่อสารกันอย่างเปิดเผย

1.11 การวางแผนการท างานร่วมกัน

81 สรุป การส่งเสริมด้านค่านิยมและการมีวิสัยทัศน์ร่วม หมายถึง การกระตุ้นให้ครู

พัฒนาวิสัยทัศน์ส่วนตนให้เป็นวิสัยทัศน์ร่วม โดยจัดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การลงประชามติ

การประชุม การวางแผนร่วมกัน ในบรรยากาศที่ไว้วางใจกัน จนสามารถสื่อสารได้อย่างเปิดเผย และ สร้างสรรค์

2. ด้านการเรียนรู้เป็นทีม

2.1 การฝึกปฏิบัติให้เกิดทักษะเพื่อเป็นการสร้างทีม 2.2 การสร้างกฎระเบียบวินัย

2.3 การใช้ทักษะการติดต่อสื่อสารให้เป็นไปในทางเดียวกัน 2.4 ทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบในองค์กรร่วมกัน

2.5 มีการคิดและแสดงออกในรูปแบบวิธีการใหม่ ๆ

2.6 การบริหารความขัดแย้งให้น าไปสู่การพัฒนาความสามารถ 2.7 การสนทนาและการอภิปราย

2.8 การเรียนรู้จากสภาพที่เป็นจริง 2.9 การเรียนรู้วิธีปฏิบัติ

2.10 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน

2.11 การยอมรับและเคารพความคิดเห็นของสมาชิก 2.12 ใช้การเสวนา (Dialoque)

2.13 ใช้การอภิปราย (Discussion)

2.14 ใช้เทคนิคของการบริหารงานเป็นทีม (Team Management

2.15 ใช้เทคนิคของการบริหารโครงการธุรกิจ (Business Project Management) 2.16 ใช้การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง (Action Learning)

2.17 มีความไว้เนื้อเชื่อใจกัน 2.18 เปิดใจไม่มีความลับต่อกัน

2.19 สามารถเผชิญปัญหาร่วมกันได้ไม่กล่าวโทษกัน 2.20 มีการวางเป้าหมายร่วมกันและปฏิบัติงานร่วมกัน 2.21 มีการวางแผนร่วมกัน

2.22 รู้จักควบคุมอารมณ์

สรุป การส่งเสริมด้านการเรียนรู้เป็นทีม หมายถึง การกระตุ้นให้ครู ติดต่อสื่อสาร กัน ประสานงานร่วมกัน วางแผนร่วมกัน ท างานร่วมกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เพื่อไปสู่เป้าหมายที่

วางไว้ร่วมกัน ด้วยความไว้วางใจกัน เผชิญปัญหาร่วมกันโดยไม่กล่าวโทษกัน

82 3. ด้านการพัฒนารูปแบบการคิดอย่างเป็นระบบ

3.1 การทุ่มเทความเอาใจใส่

3.2 การใช้กลยุทธ์ส ารวจ สอบถาม พูดคุย ทดสอบ และตรวจสอบ 3.3 การพัฒนารูปแบบวิธีความคิดใช้ร่วมกับความคิดอย่างเป็นระบบ 3.4 กระตุ้นการคิดสร้างสรรค์

3.5 น าเอาความคิดสู่การปฏิบัติจริง

3.6 ปลูกฝังการคิดวิเคราะห์ข้อมูลตามสภาพจริง 3.7 ระดมความคิด

3.8 ฝึกทักษะการสรุปผล 3.9 เสริมสร้างความเชื่อมั่น

3.10 ปฏิบัติตามความเชื่อที่ได้ศึกษา 3.11 การวางแผนเพื่อการท างาน 3.12 ความมุ่งมั่นและความพยายาม

3.13 หลักการระบบที่แสดงให้เห็นถึงความมีประสิทธิภาพ 3.14 การสร้างความรู้ความเข้าใจ

3.15 การให้ค าปรึกษา 3.16 การให้อิสระในการคิด 3.17 การวินิจฉัยปัญหา

สรุป การส่งเสริมด้านการพัฒนารูปแบบการคิดอย่างเป็นระบบ หมายถึง การกระตุ้นให้ครูคิดอย่างสร้างสรรค์ เพื่อวางแผนในการท างาน หรือวินิจฉัยปัญหา น าไปใช้ปฏิบัติ

จริงด้วยความมุ่งมั่นพยายาม มีอิสระในการคิด วินิจฉัย แก้ปัญหาอย่างมีระบบ แสดงให้เห็นถึง ความมีประสิทธิภาพ

4. ด้านการสนับสนุน และให้รางวัล

4.1 การจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษาที่ใกล้เคียงกันให้แก่ครู

4.2 การส่งเสริมให้คณะครูได้ปฏิบัติงานในลักษณะที่ต้องร่วมมือช่วยเหลือกัน 4.3 การส่งเสริมให้คณะครูมีอิสระในการด าเนินงานด้านต่าง ๆ มากขึ้น 4.4 การพัฒนาหรือปรับปรุงช่องทางการสื่อสารระหว่างบุคคล

4.5 การก าหนดนโยบายที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา 4.6 ให้ความไว้วางใจให้เกียรติและให้การยอมรับนับถือต่อครู

4.7 ส่งเสริมความก้าวหน้าในต าแหน่งของครู

4.8 จัดสิ่งอ านวยความสะดวกเพื่อให้ครูปฏิบัติงานได้บรรลุผลส าเร็จ