• Tidak ada hasil yang ditemukan

วิเคราะห์ องค์ประกอบการส่งเสริมองค์กรแห่งการเรียนรู้/ชุมชนแห่งการเรียนรู้

ชื่อนักวิชาการ/วิจัย องค์ประกอบ/แนวทาง

Jalongo. (1991) 1. การมีโอกาสเสวนาใคร่ครวญระหว่างกัน 2. การลดความโดดเดี่ยวระหว่างปฏิบัติงานสอน

ของครู

3. รวมกลุ่มเพื่อมุ่งเน้นการเรียนรู้ของนักเรียน 4. สร้างจุดเริ่มแห่งความร่วมมือร่วมใจ

5. ท าการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านค่านิยมและปทัสถาน ร่วม

Bennett and O. Brien (1994) 1. กลยุทธ์และวิสัยทัศน์องค์กร 2. การปฏิบัติของผู้บริหาร

3. การปฏิบัติของผู้จัดการ หรือผู้สนับสนุน 4. ประเพณีปฏิบัติขององค์กร

5. องค์การหรือโครงสร้างของงานโครงสร้างองค์กร 6. การหมุนเวียนของข้อมูลองค์กรการน าเทคโนโลยี

มาใช้ในการหาและกระจายข้อมูล 7. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 8. การตรวจสอบ การประเมินผล

9. เป้าหมายการปฏิบัติงานประเด็นส าคัญขององค์กร 10. การอบรมและการศึกษา

11. การพัฒนาบุคลากรและทีมองค์กร 12. การให้รางวัล

Senge’ (1999) 1. การเป็นบุคคลที่รอบรู้

2. การมีรูปแบบวิธีความคิด

3. การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเรียนรู้เป็นทีม 4. การคิดอย่างเป็นระบบ

69 ตาราง 3 (ต่อ)

ชื่อนักวิชาการ/วิจัย องค์ประกอบ/แนวทาง

ชื่อฟ้า สุประดิษฐ์ ณ อยุธยา (2541)

1. ผู้บริหารเปิดกว้างต่อความคิดใหม่ ๆ

2. การคิดอย่างมีระบบต้องพัฒนาให้เกิดขึ้นในหมู่ผู้บริหาร 3. ความคิดสร้างสรรค์ต้องพัฒนาให้เกิดขึ้นในตัวพนักงาน 4. ตระหนักถึงคุณค่าของพนักงานและค่านิยมองค์กรและ

มีแนวทางการแก้ไข

ทศพร ประเสริฐสุข (2543) 1. ปรับระบบการคิดเพื่อการเรียนรู้

2. ต้องคิดอย่างเป็นระบบ (System Thinking) 3. ความเชี่ยวชาญของบุคลากร (Personal Mastery) 4. การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน (Shared Vision) 5. การเรียนรู้ร่วมกันในทีมงาน (Team Learning) 6. การสร้างสรรค์สิ่งใหม่เพื่ออนาคตใหม่ (Reinventing

the Future)

รวคนธ์ สรโชติ (2543) 1. การกระจายอ านาจและเพิ่มวินัยในตนเอง (Distributing)

2. ประสิทธิภาพในการสื่อความและสนทนา (Effective Communication and Conversation)

3. การท าประโยชน์เพื่อส่วนรวม (Voluntary Followship)

4. มุ่งสู่ความเป็นเลิศ (Personal Mastery) เดชน์ เทียมรัตน์ ; และกานต์สุดา

มาฆะศิรานนท์ (2546)

1. รูปแบบวิธีการคิดและมุมมองที่เปิดกว้าง (Mental Models)

2. การสร้างและสานวิสัยทัศน์ (Shared Vision) 3. การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม ( Team Learning ) 4. ความคิดความเข้าใจเชิงระบบ (System Thinking)

70 ตาราง 3 (ต่อ)

ชื่อนักวิชาการ/วิจัย องค์ประกอบ/แนวทาง

เดชน์ เทียมรัตน์ ; และกานต์สุดา มาฆะศิรานนท์ (2546)

5. มีการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning) 6. มีความคิดความเข้าใจเชิงระบบ (Sistem Thinking) วัลลภ ค าพาย (2547) 1. การวิเคราะห์สภาพการณ์ในปัจจุบัน

2. การก าหนดกลยุทธ์

3. การก าหนดแผนงานที่ชัดเจน 4. การสร้างบรรยากาศเปิด

5. พัฒนาพื้นฐานองค์กรแห่งการเรียนรู้

6. พัฒนาบุคลากรในระดับผู้น าองค์กร 7. มอบหมายพันธกิจ (Mission) 8. สร้างวัฒนธรรมด้านการพัฒนา 9. การประเมินผล (Assessment) ประเวศน์ มหารัตน์สกุล (2548) 1. การเรียนรู้ระดับบุคคล

2. การเรียนรู้อย่างเป็นทีม

3. การเฝ้าติดตามและแก้ไขข้อจ ากัดการเรียนรู้ของ องค์กร

4. การติดตามและแก้ไขข้อจ ากัดการเรียนรู้ขององค์กร 5. ส ารวจสภาพปัจจุบัน

6. น าข้อมูลที่ได้มาก าหนดเป้าหมายกลยุทธ์หรือแนวทาง ที่จะใช้เป็นรูปแบบ

7. ด าเนินงานตามแผน

8. จัดเกณฑ์การพิจารณาประเมินผลในขั้นท้ายสุด วิโรจน์ สารรัตนะ (2548) 1. การบริหารเพื่อความมีประสิทธิภาพของโรงเรียน

2. การบริหารเพื่อความเป็นองค์กรวิชาชีพ

3. การบริหารเน้นการตัดสินใจร่วมและมีวิสัยทัศน์ร่วม 4. การบริหารที่เน้นการพัฒนากลุ่มบริหารตนเองและ

การติดต่อสื่อสาร

71 ตาราง 3 (ต่อ)

ชื่อนักวิชาการ/วิจัย องค์ประกอบ/แนวทาง

วิโรจน์ สารรัตนะ (2548) 5. การบริหารที่เน้นการจูงใจเพื่อสร้างสรรค์

6. การบริหารที่เป็นผู้น าแห่งการเปลี่ยนแปลง 7. การบริหารที่มีการสร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศ

องค์กรเชิงสร้างสรรค์

8. การบริหารเพื่อการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม 9. การบริหารที่ให้ความส าคัญกับการบริหารหลักสูตร

และการสอน

10. การบริหารที่ให้ความส าคัญกับการพัฒนามนุษย์

ธงชัย สมบูรณ์ (2549) 1. ฝ่ายบริหารต้องก าหนดยุทธศาสตร์แสดงจุดยืนและมี

ความมุ่งมั่นต่อการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง

2. ออกแบบโครงสร้างขององค์กรโดยการลดระดับ สายการบังคับบัญชาให้น้อยลง

3. ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรให้บุคลากรกล้าเสี่ยง เปิดเผยและมีความต้องการที่จะก้าวหน้าในอาชีพ 4. ส่งเสริมให้บุคลากรกล้าคิดกล้าท ากล้าน าเสนอและ

กล้ายอมรับความผิดพลาดที่เกิดขึ้น

5. ให้ผลตอบแทนกับผู้ที่สร้างประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม สมคิด ชุมนุมพร (2549) 1. ด้านความรอบรู้แห่งตน

2. ด้านแบบแผนความคิด 3. ด้านวิสัยทัศน์ร่วม

4. การบริหารเพื่อความมีประสิทธิภาพของโรงเรียน 5. การบริหารเพื่อความเป็นองค์กรวิชาชีพ

6. การบริหารเน้นการตัดสินใจร่วมและมีวิสัยทัศน์ร่วม 7. การบริหารที่เน้นการพัฒนากลุ่มบริหารตนเองและ

การติดต่อสื่อสาร

72 ตาราง 3 (ต่อ)

ชื่อนักวิชาการ/วิจัย องค์ประกอบ/แนวทาง

สมคิด ชุมนุมพร (2549) 8. ด้านการเรียนรู้เป็นทีม 9. ด้านความคิดเชิงระบบ ธมลวรรณ พงษ์สถิตย์ (2550) 1. ด้านความเป็นเลิศส่วนบุคคล

2. ด้านรูปแบบความคิด 3. ด้านวิสัยทัศน์ร่วม

4. ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม 5. การคิดอย่างเป็นระบบ

สาโรจน์ แก้วอรุณ (2552) 1. การมีวิสัยทัศน์ร่วม (Share Vision) 2. บุคคลแห่งการเรียนรู้ (Personal Mastery) 3. การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning) 4. คิดอย่างเป็นระบบ (System Thinking) 5. การกระจายอ านาจ (Decentralization)

6. การจัดการความรู้ (Knowladge Management) 7. วัฒนธรรมสนับสนุน (Learning Culture) 8. เทคโนโลยีสารสนเทศและการศึกษา

กมลลักษณ์ ส าราญสุข (2555) 1. ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้

2. ด้านการมีรูปแบบวิธีการคิด 3. ด้านการมีวิสัยทัศน์ร่วม 4. ด้านการเรียนรู้เป็นทีม 5. ด้านการคิดอย่างเป็นระบบ

พิเชฐ เกษวงษ์ (2556) 1. การสร้างภาวะผู้น าร่วมและเป็นไปในทางสนับสนุน 2. การสร้างและส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์แก่หมู่คณะ 3. การสร้างค่านิยมและวิสัยทัศน์ร่วม

4. การสร้างเงื่อนไขที่เกื้อกูล

73