• Tidak ada hasil yang ditemukan

ที่มา: Jin et al. (2015, p.12). Developing Learning Progression-Based Teacher Knowledge Measures.

นอกจากนั้น Jin et al. (2015, p.12) ยังได้สร้างเกณฑ์การให้คะแนนค าตอบแบบ รูบริกส์ โดยแบ่งระดับคะแนนออกเป็น 3 ระดับคะแนนคือ 4, 3, 2, และ 1 คะแนน โดยผู้วิจัย ยกตัวอย่างการให้คะแนน 2 ระดับคะแนน ได้แก่

1 คะแนน เป็นค าตอบที่จะเน้นคุณลักษณะทั่วไป เช่น ครูคนหนึ่งตัดสินใจสอน เพราะเห็นว่า “เป็นการทดลองแล้วได้ผล” ซึ่งคะแนนระดับนี้ไม่ได้เชื่อมต่อองค์ประกอบใด ๆ

2 คะแนน เป็นค าตอบที่แสดงถึงการที่ครูเริ่มพิจารณาเนื้อหาเฉพาะที่คาดหวังให้

นักเรียนเข้าใจ แต่ไม่ได้ระบุแนวคิดส าคัญทางวิทยาศาสตร์ เช่น การอธิบายการเจริญเติบโตของ พืช แต่มักจะมุ่งเน้นไปที่ข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ บางครั้งให้ค าอธิบายที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ เนื้อหาวิทยาศาสตร์ (แสดงให้เห็นความเข้าใจเนื้อหาวิทยาศาสตร์ของครู)

1.4.2 แบบวัด PCK โดยใช้แบบส ารวจการเป็นตัวแทนเนื้อหา (Content Representation Survey) ตัวแทนความคิดเกี่ยวกับเนื้อหา (CoRe) มีลักษณะเป็นตารางส ารวจ

ตัวแทนความเข้าใจเนื้อหาในหัวข้อเฉพาะ (Bertram, & Loughran, 2014) รวมถึงการเชื่อมโยง ระหว่างเนื้อหา นักเรียน และการปฏิบัติของครู

Mesci (2016, p.350) ได้เสนอ ตารางวิเคราะห์ PCK โดยใช้ CoRe ตาม แนวคิดของ Loughran et al. (2004) ประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ ดังตาราง 1

ตาราง 1 ตารางการส ารวจการเป็นตัวแทนเนื้อหา

นอกจากนั้น พฤกษ์ โปร่งส าโรง และคนอื่น ๆ (2559) ได้เสนอการประเมิน PCK เกณฑ์การประเมินแผนของนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ โดยผู้วิจัยน ามาเสนอเฉพาะส่วนที่เป็นเกณฑ์

การประเมิน ฯ ที่สะท้อน PCK ดังตาราง 2

1.4.3 แบบสัมภาษณ์ (Interview) แบบมีโครงสร้างและกึ่งโครงสร้าง อาจมีการ ก าหนดหัวข้อไว้ก่อนแล้วจึงบันทึกข้อมูล และน าไปถอดความและวิเคราะห์ต่อไป โดยท าการ สัมภาษณ์ก่อนและหลังการจัดกิจกรรม (Park, & Oliver, 2008) ดังนั้นแบบสัมภาษณ์ จึงเป็น เครื่องมือที่ใช้ส ารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้

1.4.4 แบบสังเกต (Observation) โดยใช้สังเกตในระหว่างการปฏิบัติกิจกรรม การเรียนรู้ของนักศึกษาครู ซึ่งนักการศึกษาได้เสนอแบบสังเกต PCK ดังนี้

Barendsen and Henze (2019, pp.1170 -1171) ได้เสนอแบบสังเกต มี

ลักษณะเป็นตารางการสังเกต แบ่งออกเป็นประเด็นในการสังเกตแบบมีส่วนร่วม ดังนี้

1) เนื้อหาในบทเรียน เป็นการสังเกตความรู้เกี่ยวกับบทเรียน หัวข้อของ บทเรียน ความเกี่ยวข้องของหัวข้อของบทเรียนกับจุดประสงค์ ประกอบด้วย 1) ส่วนที่เป็นความรู้

ความเข้าใจในแนวคิดวิทยาศาสตร์ 2) ทักษะ และ 3) เจตคติ

2) การจัดการเรียนรู้ เป็นการสังเกตวิธีการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 1) การบรรยาย 2) การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างการท ากิจกรรม 3) การสาธิต 4) การมอบหมายงาน 5) การสรุปงานของนักเรียน 6) อื่น ๆ

3) การสังเกต โดยสังเกตการตอบค าถามของนักเรียน

4) การตรวจสอบ เป็นวิธีการติดตามผลการเรียนรู้เกี่ยวกับความรู้ ทักษะ หรือทัศนคติ โดยการใช้ค าถาม และการมอบหมายงาน ดังตัวอย่างแบบสังเกตในภาพประกอบ 3